เจาะประเด็นปัญหาการจัดทำบัญชีภาษีอากรสำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน BOI

รหัสหลักสูตร : 21/2300

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 8,025 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 9,095 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

เจาะประเด็นปัญหาการจัดทำบัญชีและภาษีอากรธุรกิจ BOI

หัวข้อสัมมนา

Section 1
1. สิ่งที่นักบัญชีควรทราบและจะต้องระมัดระวังในการเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคล
- กฎหมาย มาตรฐานการบัญชีและระบบบัญชีที่ สําคัญของ BOI และ NON BOI
- ปัญหาในการรับรู้รายได้และรายจ่ายทางบัญชีกับ กฎหมายภาษีอากร
- ส่ิงที่นักบัญชีจะต้องระมัดระวังในการเสียภาษีอากร
- การปรับปรุงรอบระยะเวลาบัญชีของบัญชีการเงิน กับบัญชีBOI
2. เงื่อนไขที่สําคัญและข้อควรระมัดระวังในการคํานวณ กําไรสุทธิ
2.1 รายได้
- รายได้และหลักเกณฑ์การเฉลี่ยรายได้BOI และ NON BOI
- รายได้ที่ได้รับยกเว้นกึ่งหนึ่งและยกเว้นทั้งหมด
- รายได้ที่ทางบัญชีไม่ถือเป็นรายได้แต่ภาษีอากร ถือเป็นรายได้
- รายได้ที่ต้องมีการปรับปรุงในแต่ละรอบระยะ เวลาบัญชี
- รายได้จากการขายสินค้า วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ พลอยได้เศษซากและส่วนสูญเสีย
- กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนและการ จําหน่ายสินทรัพย์
- รายได้ดอกเบี้ยรับ และรายได้อื่น ๆ 2.2 รายจ่าย
- รายจ่ายจากทรัพย์สินที่ใช้ร่วมกันของกิจการ BOI และ NON BOI
- เงื่อนไขสิทธิประโยชน์จากการส่งออก
- เงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ของค่าใช้จ่าย สาธารณูปโภคเพิ่มขึ้น 2 เท่า และรายจ่ายที่กฎหมาย ยอมให้เพิ่มขึ้น 50% และ 100%
- รายจ่ายที่มีลักษณะลงทุนและรายจ่ายเพื่อหากําไร หรือก่อให้เกิดรายได้
- รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากรและภาษีซื้อ ต้องห้าม
- รายจ่ายในการขายและบริหาร
- ผลขาดทุนยกมาไม่เกิน 5 ปีของกิจการ BOI และ NON BOI
3. ปัญหาคํานวณกําไรสุทธิกรณีมีหลายบัตร
4. หลักเกณฑ์ที่สําคัญเกี่ยวกับสินทรัพย์
- การบันทึกต้นทุนของสินทรัพย์และดอกเบี้ยเงินกู้ยืม
- การคิดค่าเสื่อมราคา ค่าสึกหรอ เช่น Computer เครื่องจักรและอุปกรณ์
- แนวปฏิบัติกรณีทรัพย์สินสูญหาย ชํารุดใช้การไม่ได้
- การคํานวณราคาสินทรัพย์ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
5. หลักเกณฑ์ที่สําคัญเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือและวัตถุดิบ
- ราคาทุน และราคาตลาดของสินค้า
- การตีราคาสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด
- ปัญหาการตรวจนับสินค้าและวัตถุดิบสินค้าขาดหรือ เกินจากสต๊อก แนวปฏิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมาย ภาษีอากร
- การทําลายสินค้าคงเหลือและวัถตุดิบตามเงื่อนไข ของกรมสรรพากร
6. หลักเกณฑ์ที่สําคัญเกี่ยวกับการจําหน่ายหนี้สูญทางบัญชี และภาษีอากร
Section 2
7. การจัดทําบัญชีภาษีอากรเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภาคปฏิบัติ
7.1 เทคนิคในการแยกและตรวจสอบเอกสารก่อน การบันทึกบัญชีให้มีประสิทธิภาพของ BOI และ NON BOI
7.2 กระบวนการจัดทําบัญชีและภาษีอากร
- การปรับปรุงข้อมูลทางบัญชีที่สําคัญก่อนจัดทํางบการเงิน
- การจัดทํางบการเงินของ BOI และ NON BOI
- การปรับปรุงกําไรสุทธิทางบัญชีให้เป็นกําไรสุทธิทางภาษีอากร ตามหลักเกณฑ์กฎหมายภาษีอากร
- การคํานวณกําไร (ขาดทุน) สิทธิตามหลักเกณฑ์BOI และ NON BOI
7.3 การกรอกแบบเพื่อนําส่งกรมสรรพากร (Work Shop)
1. กรมสรรพากร
- การกรอกแบบ ภ.ง.ด.50 และเอกสารแนบ
- ข้อควรระมัดระวังในการกรอกแบบที่มักพบข้อผิดพลาด
2. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
- การกรอกแบบ สบช.3 และเอกสารที่ต้องนําส่ง
- ข้อควรระมัดระวังในการกรอกแบบที่มักพบข้อผิดพลาด
7.4 การเสียภาษีกลางปีโดยวิธีการประมาณการและ การเสียภาษีจากกําไรสุทธิที่เกิดขึ้นจริงของกิจการ BOI และ NON BOI 
- วิธีการประมาณการกลางปีเพื่อให้ใกล้เคียง ข้อเท็จจริงและสรรพากรยอมรับ
- การกรอกแบบ ภ.ง.ด.51 และปัญหาในการกรอกแบบ
7.5 สิทธิพิเศษทางภาษีของบริษัทที่ได้รับส่งเสริม BOI
- สิทธิประโยชน์ทางภาษีในการนําเข้าสินค้าและ บริการของกิจการ BOI
- ความแตกต่างของภาษีหัก ณ ที่จ่ายของ BOI กับบริษัททั่วไป
- ทําอย่างไรจะไม่ถูกหักภาษีณ ที่จ่าย
- ปัญหาการหักภาษีณ ที่จ่ายจากการจ่ายเงินปันผล ของกิจการ BOI
- ปัญหาช่วงรอยต่อก่อนและหลังหมด BOI จุดที่ต้องระวัง
7.6 การเฉลี่ยภาษีซื้อ กรณีที่กิจการมีรายได้ที่เสียภาษี มูลค่าเพิ่มและไม่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
- การเฉลี่ยภาษีซื้อตามรายได้ของปีก่อนหรือประมาณการ
- การเฉลี่ยภาษีซื้อโดยวิธี90:10
7.7 การคํานวณกําไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรีและ 65 ทวิ และรายจ่ายที่มีเงื่อนไข
- รายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
- รายจ่ายส่วนตัวหรือกําหนดขึ้นเองโดยไม่ได้จ่ายจริง, ค่ารับรอง
- ค่าการกุศลสาธารณะ และ รายจ่ายเพื่อการ ศึกษาและการกีฬา
- รายจ่ายอื่น ๆ
8. บริษัท SME ที่ได้BOI จะเสียภาษีอย่างไรตามอัตราภาษีใหม่ 2559
9. ถาม-ตอบปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการจัดทําบัญชีภาษีอากร

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

สถานที่

โรงแรมสวิส โฮเต็ล
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

รถไฟฟ้าใต้ดินสถานี ห้วยขวาง
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba