ผลกระทบต่อการบันทึกบัญชีที่นักบัญชีต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

Course Code : 21/2931

Course Schedule

Course Price

Members Magazine : 4,280 Thai Baht ( Include VAT )
Non Members : 5,029 Thai Baht ( Include VAT )

Course Detail


ผลกระทบต่อการบันทึกบัญชีที่นักบัญชี
ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 5 ชม. อื่นๆ 1 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 5 ชม. อื่นๆ 1 ชม.

 

วิทยากรโดย ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์

หัวข้อสัมมนา

มาตรฐานรายงานทางการเงินที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
1. มาตรฐานรายงานทางการเงินที่นักบัญชีต้องทราบ
2. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่นักบัญชีต้องปฏิบัติเพื่อนำไปใช้สำหรับการจัดทำรายงานทางการเงิน
ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี
- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ฉบับปรับปรุง)
- มาตรฐานการบัญชีของประเทศไทยที่ใช้ในปัจจุบัน
- แนวปฏิบัติทางการบัญชี
3. การจัดทำรายงานทางการเงินตามมาตรฐานรายงานทางการเงินเลือกแบบใดได้บ้างPAEs และ NPAEs
4. การทำความเข้าใจในธุรกิจที่ทำงานสำหรับเปรียบเทียบกับธุรกิจประเภทเดียวกันและมาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มีอะไรบ้างที่ต้อง UP-DATE
5. ส่วนสำคัญของมาตรฐานรายงานทางการเงินที่ส่งผลต่อกิจการในอนาคตที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องมาตรฐานรายงาน
ทางการเงินครอบคลุมประเด็นสำคัญสำหรับการบันทึกบัญชี
6. ประเด็นด้านสินทรัพย์
- เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
- ลูกหนี้การค้า
- สินค้าคงเหลือ
- เงินลงทุน
- ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
- สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
- อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
7. ประเด็นด้านหนี้สิน
- ต้นทุนการกู้ยืม
- ประมาณการหนี้สิน
- หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
8. ประเด็นด้านรายได้และค่าใช้จ่าย
- ภาษีเงินได้
- รายได้
- การรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์
- สัญญาก่อสร้าง
- สัญญาเช่า
9. รูปแบบของงบการเงินที่เปลี่ยนแปลงไปตามแนวปฏิบัติที่ถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่
- การแสดงรายการขั้นตํ่าในงบแสดงฐานะการเงิน
- รายการที่ไม่ต้องนำเสนอ
- การนำเสนอรายงานทางการเงิน

ข้อควรระวังในการจัดเตรียมเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี
10. การเตรียมเอกสารในการบันทึกบัญชีมีอะไรบ้าง และเอกสารที่ผู้สอบบัญชีต้องตรวจสอบ
11. เอกสารเพื่อการบันทึกบัญชีภายใต้มาตรฐานการบัญชีที่นักบัญชีต้องทราบ
12. การบันทึกบัญชีไม่สอดคล้องกับเอกสารทางบัญชีนักบัญชีจะต้องแก้ไขอย่างไร
13. เมื่อไม่มีเอกสารในการประกอบการบันทึกบัญชีนักบัญชีจะต้องปฎิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี
14. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการลงบัญชีที่ไม่สามารถพิสูจน์ผู้รับได้นั้น มาตรฐานรายงานทางการเงินต้องปฏิบัติอย่างไร
15. เทคนิคการจัดทำและการปรับปรุงเอกสารการบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามหลักบัญชี
16. ปี 2562 ต้องนำส่งงบการเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-filing) อย่างเดียวต้องทำอย่างไรให้ถูกต้อง
17. จุดสังเกตุการวิเคราะห์สภาพคล่องของกิจการจากตัวเลขที่แสดงในงบการเงินที่นักบัญชีต้องแจ้งฝ่ายบริหาร
18. ประเด็นปัญหาที่อาจพบที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกบัญชีและแนวทางการแก้ไขให้ถูกต้องตามมาตรฐานรายงาน
ทางการเงิน
19. หากบริษัทขาดทุนติดต่อกันนักบัญชีจะต้องปฏิบัติอย่างไร
20.ความแตกต่างของการรายงานผลกำไรจากการดำเนินงานเชิงบริหารกับตามหลักการบัญชีอย่างไร
21. การเตรียมข้อมูลสำหรับการเปิดเผยรายการในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างไร? ทำไมแต่ละประเภทธุรกิจถึง
แตกต่างกันการวางระบบสารสนเทศทางการบัญชีให้ถูกต้องและป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจขึ้นได้ในภายหลัง
22. การใช้โปรแกรม ERP/โปรแกรมขนาดเล็ก ในการบันทึกรายการทางบัญชีต้องจัดทำอย่างไร เช่น สมุดรายวันต่างๆ
- สมุดบัญชีตั๋วเงินรับ ตั๋วเงินจ่าย
- ทะเบียนทรัพย์สินถาวร
- ทะเบียนใบสำคัญจ่าย เช็ค
- สมุดบัญชีเงินสด
- ทะเบียนประกอบที่ใช้ในการอ้างอิงรายการสำคัญ

ผลกระทบของการบันทึกบัญชีต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการประกอบวิชาชีพบัญชี
23. หลักการในการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี พร้อมตัวอย่างกรณีศึกษา
- การแก้ไขข้อผิดพลาดในงบการเงินย้อนหลังอย่างไร เข้ากำไรสะสะมได้หรือไม่?
- รายการยอดคงค้างเดิมที่ไม่มีรายละเอียดประกอบทำอย่างไร
- เปลี่ยนแปลงการคิดค่าเสื่อมราคาได้หรือไม่? บัญชีกับภาษีต่างกันอย่างไร
- ต้องระวังข้อผิดพลาดในรายการเกี่ยวกับเงินสด
- ตัวเลขไม่ลงตัว ไม่มีที่ลง บันทึกเป็นเงินกู้ยืมกรรมการได้หรือไม่?
24. ข้อสังเกตทั่วไปสำหรับจุดตรวจสอบที่ผิดปกติในงบการเงินของหน่วยงานที่ควบคุมดูแล
25. ต้องการจ่ายเงินปันผลทำอย่างไร ให้ถูกต้องตามหลักการบัญชีและหลักกฎหมายแพ่งพาณิชย์
26.หลักการพิจารณาตั้งค่าเผื่อลูกหนี้สงสัยจะสูญและการจัดทำรายงานอายุลูกหนี้ให้ถูกต้องตามหลักการบัญชี
และภาษีอากรอย่างไร
27. คดีฟ้องร้อง คดียุติแล้ว ทั้งเป็นผู้ถูกฟ้องหรือผู้ฟ้องจะบันทึกอย่างไรให้ถูกต้องตามหลักการบัญชีและภาษีอากร
28. หลักกฎหมายภาษีสำคัญและความแตกต่างกับหลักการบัญชีที่นักบัญชีต้องเข้าใจเพื่อคำนวณภาษีและ
การวางแผนภาษีนิติบุคคล
29. การพิจารณาตัดจำหน่ายรายการคงเหลือทางบัญชีบัญชี ทำอย่างไร? ให้ถูกหลักทั้งหลักการบัญชีและ
หลักภาษีอากร
30. การจัดทำบัญชีเล่มเดียวตามแนวทางกรมสรรพากรมีประโยชน์อย่างไร คุ้มค่าหรือไม่
31. จุดสังเกตความผิดปกติของรายการในงบการเงินที่มักถูกตรวจสอบ
- เงินกู้ยืมกรรมการ พนักงาน หรือ บริษัทในเครือไม่คิดดอกเบี้ยได้หรือไม่
- เกณฑ์การเสียภาษีของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเป็นอย่างไร
- ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่กิจการมีสิทธิขอคืน แต่ไม่เอาคืนจะต้องปฏิบัติอย่างไร
- ขาดทุนสะสมไม่เกิน 5 ปี มีหลักเกณฑ์การใช้สิทธิอย่างไรในทางภาษีอากร
- หากกิจการมีขาดทุนขั้นต้น มีประเด็นภาษีที่ต้องระมัดระวังหรือไม่
- ประเด็นการปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชีให้เป็นกำไรสุทธิทางภาษีอากร (บวกกลับ) มีอะไรบ้าง
32. ข้อควรระวังก่อนออกรายงานทางการเงินให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตลงนาม
33. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


Hours of CPD Hours of CPA
account other accountant other
5:0 1:0 5:0 1:0

Instructor

ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์

Location

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
Phone :
02-641-1500
Website :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba