Professional Accounting Supervisor (หลักสูตรใหม่ 2562)

รหัสหลักสูตร : 21/2111

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 36,380 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 38,520 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


Professional Accounting Supervisor

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 12 ชม. อื่นๆ 12 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 12 ชม. อื่นๆ 12 ชม.

 

•  สิ่งที่หัวหน้าฝ่ายบัญชีต้องพร้อมกับการวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี
•  ภาระภาษีต่างๆ ที่หัวหน้าฝ่ายบัญชีควรทราบ
•  มาตรฐานการบัญชี หัวหน้าฝ่ายบัญชีกับการเตรียมความพร้อมแบบมืออาชีพ
•  รับฟรี Microsoft Surface Go ด่วนรับจำนวนจำกัด

 

วิทยากรโดย ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์ (ธีรวิทย์ กาปัญญา) ผศ.ดร.อุเทน เลานำทา
ดร.พรปรวีณ์ ชาญสุวรรณ และอาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

หัวข้อสัมมนา

Section 1

สิ่งที่หัวหน้าฝ่ายบัญชี  ต้องทำความเข้าใจก่อนการวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี
1. สิ่งที่ผู้บริหารและเจ้าของกิจการต้องการต้องจากนโยบายงานบัญชี
2. ภาพรวมของปัญหาในการทำบัญชีที่นักบัญชีต้องเตรียมการแก้ไขปัญหารวมถึงการวางกลยุทธ์เพื่อป้องกัน
3. ข้อแตกต่างระหว่าง“การบัญชีการเงิน”กับการ “การบัญชีเพื่อการจัดการ”
4. ความหมายและความสำคัญของการวางระบบและการพัฒนาสารสนเทศทางการบัญชี
5. ข้อควรระวังในการวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี
6. การวางระบบสารสนเทศทางการบัญชีและการจัดทำรายงานทางบัญชีให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ
มาตรฐานรายงานทางการเงินกับกฎระเบียบข้อบังคับจากหน่วยงานราชการ
7. กระบวนการและขั้นตอนในการวางระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่ประสบความสำเร็จ
8. การวางระบบสารสนเทศทางการบัญชีให้สอดคล้องกับการบริหารงานภายใน
- การจัดทำงบประมาณเพื่อการวางแผนและการควบคุม (Profit Planning and Control)
- การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
- การวางแผนกลยุทธ์ทางบัญชีการเงินและการบัญชีภาษีอากร

การออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
1. เทคนิคการจัดระบบเอกสาร
2. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี
3. เอกสารที่สำคัญในระบบบัญชี
4. การวางระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
5. การเลือกใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในการปฏิบัติงาน
6. รายงานที่ใช้เพื่อประโยชน์สำหรับการบริหาร

เทคนิคการวางระบบสารสนเทศทางการบัญชีและการปรับปรุงระบบบัญชีเดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
1. ประเภทของการวางระบบบัญชีที่สำคัญๆของธุรกิจ เช่น ธุรกิจขายสินค้า ธุรกิจให้บริการ ธุรกิจที่ได้รับ
การส่งเสริมการลงทุน
2. เทคนิคการวางระบบบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
3.  เทคนิคการวางระบบบัญชีเกี่ยวกับรายได้และค่าใช้จ่าย
4. เทคนิคการวางระบบบัญชีลูกหนี้
5. เทคนิคการวางระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ
6. เทคนิคการวางระบบบัญชีสินทรัพย์
7. เทคนิคการวางระบบบัญชีเจ้าหนี้การค้า เงินกู้จากกรรมการหรือบริษัทในเครือ

Section 2

ภาระภาษีต่างๆ ที่หัวหน้าฝ่ายบัญชี ควรทราบ
1. ภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจซึ่งนักบัญชีต้องทราบ
2. ประเด็นปัญหาและข้อระวังในการจัดทำบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล
- รายได้ที่ต้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธิ
- รายได้ที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธิ
- รายจ่ายต้องห้ามทางบัญชีภาษีอากร
- การจัดทำเอกสารหลักฐานทางบัญชีเพื่อให้ลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้
- สิทธิประโยชน์ทางภาษีต่างๆที่สามารถนำมาใช้ได้
3. เทคนิคและกฎหมายล่าสุดเกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามคำสั่งกรมสรรพากร ตลอดจนการเสีย
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีทั้งที่ผู้ยอมให้หักภาษีและไม่ยอมให้หักภาษีจะทำอย่างไร
4. ภาษีมูลค่าเพิ่มกับปัญหาและแนวทางแก้ไข
- จุดความผิดและฐานภาษี
-  การออก การรับ  การเก็บใบกำกับภาษี ใบลดหนี้ ใบแจ้งหนี้
- รายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย
- ภาษีซื้อต้องห้ามในบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
5. การแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ของระบบภาษีอากรให้ถูกต้อง
6. ข้อควรระวังต่างๆ ในการเสียภาษีของธุรกิจ

Update กฎหมายใหม่ที่หัวหน้าฝ่ายบัญชี ต้องทราบ
1. National e-Payment นโยบายโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเปลี่ยนแปลงยุคใหม่
ที่นักบัญชีต้องรู้และเตรียมรับมือ
2. Update ประเด็นทางด้านภาษี-บัญชี ที่มีการเปลี่ยนแปลงในยุคใหม่ที่บัญชีไม่ควรพลาด
3. มาตรการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการจัดทำบัญชีให้สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริงของกิจการ

Section 3

มาตรฐานการบัญชี หัวหน้าฝ่ายบัญชี  กับการเตรียมความพร้อมแบบมืออาชีพ
1.  แนวปฏิบัติใหม่ๆ ทางบัญชีที่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.การบัญชี  พ.ศ.2543
2.  สรุปแนวปฏิบัติ เอกสารและรายงานทางการเงินที่บัญชีต้องจัดทำให้ถูกต้อง
3.  มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามกฎหมาย พ.ร.บ. การบัญชีพ.ศ.2543 ที่ต้องทราบ
4.  ความคืบหน้า ทิศทางและมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่ๆ ตลอดจนการปรับปรุงแก้ไขมาตรฐาน
การบัญชีฉบับที่ใช้ในปัจจุบัน
5.  แนวปฏิบัติตามาตรฐานการบัญชีที่สำคัญๆ และมีปัญหาในปัจจุบัน
6.  ทิศทางมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยสู่มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ
7. สรุปสาระสำคัญมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับปรับปรุง 2562 มีทั้งหมด 58 ฉบับ โดยจะมีผลบังคับใช้สำหรับ
รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2562โดยแบ่งออกเป็น 4 สำคัญ
- TFRS ที่มีการปรับปรุงถ้อยคำหรือขยายความให้มีความชัดเจนมากขึ้นและปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมโดยไม่มีการเพิ่ม
หลักการพื้นฐาน จำนวน 4  ฉบับ ได้แก่ TFRS 2 TFRS 4 TAS 28 และ TAS 40
- TFRS ฉบับใหม่ที่มีผลบังคับใช้ในประเทศไทย จำนวน 8 ฉบับ ได้แก่  TFRS 1 TFRS 16  TFRS กลุ่มเครื่องมือ
ทางการเงิน (TFRS 9 TFRS 7 TAS32 TFRIC 16 และ TFRIC 19) และ TFRIC 22
- TFRS ที่ปรับปรุงให้สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานการเงินฉบับใหม่ ที่มีผลบังคับใช้
- TFRS ที่ปรับปรุงและการอ้างอิงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น
8. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและการแก้ไขข้อผิดพลาด
9. ประมาณหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นที่เกี่ยวข้อง

Section 4

เรื่องความต้องการของผู้บริหารยุคใหม่กับตำแหน่งงานหัวหน้าฝ่ายบัญชี  และรายงานทางการเงินที่
ผู้บริหารต้องการและการวิเคราะห์งบการเงินเพื่อเสนอฝ่ายบริหาร
Qualification, Roles, Responsibilities, Attitudes, Point of  Views and   Ethics
คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ ทัศนคติ มุมมองของหัวหน้าฝ่ายบัญชี ยุค 4.0

1. องค์ประกอบและกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในยุค 4.0
2. หัวหน้าฝ่ายบัญชี สมุห์บัญชีกับการบริหารงานและเทคนิคการประสานงานในฝ่ายและส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อ
ลดการกระทบในส่วนงาน
3. การนำแผนกลยุทธ์ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงให้ประสบความสำเร็จและลดข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น
4. การปรับปรุงแผนและกลยุทธ์ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันในยุคดิจิทัล
5. หัวหน้าฝ่ายบัญชียุค Thailand 4.0 กับทิศทางในอนาคต
6. การบริหารจัดการเพื่อป้องกันการทุจริตและลดความเสี่ยงการทุจริตในอนาคต

Applying Information Technology for Management and Decision Making
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ

7. การพัฒนาระบบบัญชีและระบบเอกสารให้สอดคล้องกับยุคดิจิทัล
8. หัวหน้าฝ่ายบัญชี กับการวางแผนการควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพ
9. การควบคุมสารสนเทศทางการบัญชีในยุค 4.0
10. การเตรียมความพร้อมของกิจการเพื่อรองรับระบบ Fintech
11. การประยุกต์ใช้ข้อมูลในงบการเงินเพื่อการนำเสนอผู้บริหาร

Accounting Information Analysis Technique for Management เทคนิคการนำข้อมูล
มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับการบริหาร Strategic Planning

1. การประยุกต์ใช้ข้อมูลทางการบัญชีสำหรับการจัดการธุรกิจ
2. การนำข้อมูลทางการบัญชีมาวางแผนการดำเนินงานระยะสั้นและระยะยาว
3. เทคนิคในการวางแผนและควบคุมกำไร
4. “OKRs” หรือ “Objective and Key Results” คืออะไร จะมาแทนที่ KPIs ในการประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน
การจัดการ และดำเนินงานในองค์กรได้อย่างไร
5. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี



นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
12:0 12:0 12:0 12:0

วิทยากร

ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์
ผศ.ดร.อุเทน เลานำทา
ดร.พรปรวีณ์ ชาญสุวรรณ
อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba