ความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชี และการจัดทำบัญชีให้สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่สำคัญ

รหัสหลักสูตร : 23/4075/1

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 1,070 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 1,498 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้ออบรม

1. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยในปัจจุบันและมาตรฐานที่บังคับใช้ในปีนี้และปีหน้า

- มาตรฐานการรายงานทางระหว่างประเทศ บทบาทต่อประเทศไทย

- นักบัญชีไทยต้องใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศหรือไม่

2. ข้อควรระวังเมื่อต้องลงชื่อเป็นผู้ทำบัญชี

- ความรับผิดตามกฎหมายที่สำคัญมีอะไรบ้าง

- ข้อกำหนดที่สำคัญตาม พ.ร.บ.การบัญชี พ.ศ.2543 และบทลงโทษ

- ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีคือใคร ต้องรับผิดชอบอะไรบ้างตามกฎหมายบัญชี

3. ผู้ทำบัญชีต้องรับผิดชอบอะไรบ้างตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- แนวคิดการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการ PAEs, และ NPAEs

- การจัดทำเอกสารทางบัญชีให้ถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- แนวคิดที่สำคัญในการจัดทำและนำเสนองบการเงิน ระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน PAEs, และ NPAEs

- นัยสำคัญคืออะไร นักบัญชีต้องพิจารณาอย่างไร

4.มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

- ค่าเสื่อมราคา คิดตามประมวลรัษฎากรได้หรือไม่

- การทบทวนอายุการใช้งาน ต้องทำหรือไม่ เพื่ออะไร

- แนวปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินเมื่อจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

- วิธีปฏิบัติเมื่อมีการให้เช่าที่ดินและอาคาร ผู้ให้เช่าทำอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- ข้อพึงพิจารณาที่สำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- กรณีศึกษาการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินมาใช้สำหรับการสร้างอาคารเองบนที่ดินเปล่า

และนำเอาพื้นที่บางส่วนออกให้เช่า

- หลักปฏิบัติเมื่อสิ้นรอบบัญชีต้องทำอะไรบ้าง

- การจัดประเภทใหม่ของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

- แนวปฏิบัติหากพบข้อแตกต่างทางบัญชีและภาษีอากร

5. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ

- การวางแผนการตรวจนับทำอย่างไร จำเป็นต้องนับเมื่อสิ้นรอบบัญชีหรือไม่

- เมื่อสิ้นรอบบัญชี ควรจัดทำอะไรบ้างเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ และทรัพย์สินเมื่อคำนึงถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- การจัดประเภทอะไหล่ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- สินค้าที่มีสภาพไม่สมบูรณ์พบได้จากการตรวจนับทำอย่างไร

- จะใช้ข้อมูลจากการตรวจนับมาปรับการแสดงมูลค่าที่เหมาะสมของสินค้าและทรัพย์สินต่างๆ ที่สำคัญได้อย่างไร

- แนวปฏิบัติหากพบข้อแตกต่างจากการตรวจนับทางบัญชีและภาษีอากร

6. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น

- การประมาณการหนี้สินกับหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแตกต่างกันอย่างไร

- การตกแต่งตัวเลขทางบัญชีกับการประมาณการหนี้สินแตกต่างกันอย่างไร

- ข้อพึงปฏิบัติที่สำคัญกับการประมาณการหนี้สิน

7. รายได้และค่าใช้จ่ายตามแนวทางมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- นักบัญชีจะรับรู้รายได้โดยอ้างอิงจากที่ไหนและเมื่อไหร่

- ใครเป็นผู้เลือกใช้นโยบายการบัญชีและความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชี

- หากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีให้ทำอย่างไรและมีผลกับภาษีอากรอย่างไร

- หากมีการพบข้อผิดพลาดและทุจริตจะแก้ไขตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างไร

- การทุจริตจัดเป็นข้อผิดพลาดหรือไม่

- นักบัญชีต้องแสดงค่าใช้จ่ายเมื่อไร มีกี่แบบ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- ตัวอย่างการแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนที่อาจนำไปสู่ปัญหาทางภาษีอากร

8. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์เกชา สมใจเพ็ง

สถานที่

โรงแรมเอส.ดี อเวนิว
94 แขวง บางบำหรุ เขต บางพลัด
กรุงเทพมหานคร 10700
โทรศัพท์ :
02-4340400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีบางยี่ขัน ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 900 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba