การตรวจสอบภาษีของสรรพากรจากงบการเงินและทางเดินเอกสาร

รหัสหลักสูตร : 21/8032/2

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,350 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,099 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การตรวจสอบภาษีของสรรพากรจากงบการเงินและทางเดินเอกสาร

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.


วิทยากรโดย อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

รายละเอียดหลักสูตร
• ความสำคัญของทางเดินเอกสาร
• การตรวจสอบใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้
• ความสัมพันธ์ของสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่ายกับการตรวจสอบของสรรพากร
• ประเด็นการขอคืนที่มักถูกตรวจสอบ
• ปัญหาการถูกตรวจสอบ Stock

หัวข้อสัมมนา
1. Update ระบบการตรวจสอบภาษีของสรรพากรในยุคเทคโนโลยีปัจจุบัน
    1.1 กิจการที่สุ่มเสียงที่จะถูกตรวจสอบ
    1.2 การใช้เทคโนโลยีของสรรพากรในการจัดเก็บภาษีสิ่งที่ผู้สียภาษีต้องระวัง

2. การตรวจสอบเอกสารทางบัญชีและเอกสารอื่น ๆ
    2.1 การตรวจสอบทางเดินเอกสาร
       - ความสำคัญของการประกอบธุรกิจ
       - ลักษณะการออกเอกสารของธุรกิจ
       - การสอบยันเอกสารกับคู่ค้า
       - จ่ายเงินให้บุคคลหนึ่งแต่ได้รับเอกสารจากอีกบุคคลหนึ่ง
       - การตรวจสอบ Statement การรับเงินหรือจ่ายเงินผ่านธนาคาร
    2.2 การวิเคราะห์ทางเดินรายจ่ายกระทบกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
       - การเงินไปต่างประเทศมีการนำส่ง ภ.ง.ด.54 และ ภ.พ.36 หรือไม่
       - จ่ายค่าดอกเบี้ย เงินปันผล มีการนำส่ง ภ.ง.ด.2 ภ.ง.ด. 2 ก. หรือไม่
       - การจ่ายค่านายหน้า ให้กับบุคคลธรรมดา มีการนำส่ง ภ.ง.ด.1 ภ.ง.ด.1 ก หรือไม่
       - หัก ณ ที่จ่ายถูกต้องตามเงินได้แต่ละประเภทหรือไม่
       - หัก ณ ที่จ่ายครบถ้วนหรือไม่
    2.3 การตรวจสอบการออกใบกำกับภาษี ใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้
       - นำส่งฐานภาษีถูกต้องหรือไม่
       - ออกใบกำกับภาษีถูกต้องหรือไม่/ไม่มีสิทธิออก
       - มีการใช้ใบกำกับภาษีปลอมหรือไม่
       - วิธีการตรวจสอบของสรรพากรว่าใบไหนเป็นใบกำกับภาษีปลอม
       - การใช้ใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้ ถูกต้องหรือไม่

3. จุดในงบการเงินที่สรรพากรมักตรวจสอบ ความสัมพันธ์ของสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และ
ค่าใช้จ่ายว่าสอดคล้องกับข้อเท็จจริงหรือไม่

    3.1 ขาดทุนขั้นต้น
    3.2 ขาดทุนสะสมมากกว่าทุนชำระ
    3.3 รายได้ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมากกว่ารายได้ในภาษีนิติบุคคล
    3.4 แสดงรายได้ไม่สอดคล้องกับต้นทุน
    3.5 สินค้าปลายงวดยังมีจำนวนเยอะแต่ก็ยังซื้อสินค้าเข้ามา
    3.6 ไม่มีสินทรัพย์ถาวร และไม่มีรายได้จากค่าเช่า
    3.7 มีเงินให้กู้ยืมแต่ไม่มีดอกเบี้ยรับ
    3.8 สินค้าปลายงวดมีมากกว่ารายได้
    3.9 ไม่มีรายได้โดยตรงและไม่มีรายได้อื่น
    3.10 ไม่มีการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50, ภ.ง.ด.51 หรือยื่น ภ.ง.ด. 51 ขาดไปเกิน 25%
    3.11 รายจ่ายค่ารับรองที่มากเกินไป
    3.12 การใช้สิทธิประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง

4. การตรวจสอบ Stock สินค้า/บริการ
    4.1 Stock หาย สรรพากรมองว่าขายหรือนำไปใช้ ต้องเสียภาษีอะไรบ้าง
    4.2 Stock บวมแต่รายได้น้อย

5. การตรวจสอบภาษีแต่ละประเภทธุรกิจ
    5.1 วิธีการตรวจสอบกิจการธุรกิจซื้อมาขายไป
    5.2 วิธีการตรวจสอบกิจการธุรกิจการผลิต
    5.3 วิธีการตรวจสอบกิจการธุรกิจให้บริการ
    5.4 วิธีการตรวจสอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง
    5.5 กิจการอื่น ๆ

6. ประเด็นการขอคืนที่มักถูกตรวจสอบ
    6.1 การขอคืนเป็นเงินสด
    6.2 มีการขอคืนภาษีจากใบกำกับภาษีปลอมหรือไม่
    6.3 ขอคืนเครดิตติดกัน

7. จุดที่สรรพากรจับความผิดปกติของระบบบัญชีหรืองบการเงิน

8. เทคนิคการชี้แจงต่อกรมสรรพากร เมื่อถูกตรวจสอบ

9. วิธีการประเมินของสรรพากรที่จะทำให้ผู้เสียภาษีและสรรพากร Win Win ทั้งคู่

10. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

สถานที่

โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ
4 ถ.สุขุมวิท ซ.2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ :
02-656 7700
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4 (เดิน 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba