เจาะกฎหมายสำหรับนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันทั้งในไทยและต่างประเทศ (Transfer Pricing)(จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

Course Code : 21/8328Z

Course Schedule

Course Price

Members Magazine : 3,745 Thai Baht ( Include VAT )
Non Members : 4,280 Thai Baht ( Include VAT )

Course Detail


เจาะกฎหมายสำหรับนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน
ทั้งในไทยและต่างประเทศ (Transfer Pricing)

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 
CPD
ผู้ทำบัญชี

รออนุมัติ

ผู้สอบบัญชี

นับชั่วโมงแบบ
ไม่เป็นทางการได้

 
 - วิธีการจัดทำรายงาน Disclosure Form
 - วิธีการ Adjustment
 - สิ่งที่นักบัญชีต้องศึกษาและเตรียมรับมือจากการตรวจสอบ

วิทยากรโดย อาจารย์สาโรช  ทองประคำ

หัวข้อสัมมนา


1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันตามกฎหมายTransfer Pricing

  • ความสําคัญของผู้ถือหุ้นทั้งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา
  • การถือหุ้นทางอ้อมหมายความว่าอย่างไร
  • การถือหุ้นผ่านคนกลาง
  • การถือหุ้นแบบแนวตั้งและแบบแนวนอนที่จะถือว่ามีความสัมพันธ์กัน
  • การถือหุ้นของบุคคลธรรมดาที่จะถือว่ามีความสัมพันธ์กัน
  • การถือหุ้นสามีภริยาอย่างไรจะถือเป็นนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน

2. รูปแบบอื่นที่สรรพากรมองว่าอาจมีความสัมพันธ์กันมีลักษณะอย่างไรบ้าง

  • การถูกควบคุม (Controlled Transaction)
  • การลงทุน
  • การจัดการ/การกําหนดกลยุทธ์
  • งบการเงิน

3. การมีข้อกําหนดด้านพาณิชย์หรือด้านการเงินระหว่างบริษัทในเครืออย่างไร ที่จะถือว่า
มีการถ่ายโอนกําไร

  • ข้อกําหนดที่แตกต่างจากที่ควรกําหนดหมายความว่าอย่างไร
  • ลักษณะที่สรรพากรมองว่าจะมีการถ่ายโอนกําไรซึ่งกันและกัน
  • เงื่อนไขการชําระเงินจะมีประเด็นในการตรวจสอบหรือไม่
  • ค่าใช้จ่ายที่สรรพากรมองว่าเป็นการถ่ายโอนกําไร

4. ประเด็นที่สรรพากรจะมองว่าเป็นการถ่ายโอนกําไรระหว่างกันมีประเด็นใดบ้าง

  • การซื้อขายสินค้า/ให้บริการ
  • การจ่ายค่านายหน้า ค่าเช่า บริการทางบัญชีกฎหมาย
  • การให้คําปรึกษาทางการเงิน
  • การจัดอบรม
  • การจ่ายเงินปันผลจะถูกเพ่งเล็งหรือไม่
  • การโอนจ่ายค่า Management fee ให้กับบริษัทแม่ที่ต่างประเทศ
  • การนําเข้าสินค้าที่ใกล้หมดอายุ
  • การโอนทรัพย์สินที่ไม่มีรูปร่าง เช่น การจ่ายค่าลิขสิทธิ์ การจ่ายค่าพัฒนาผลิตภัณฑ์
  • การจ่ายค่า R&D
  • การกู้ยืมเงินระหว่างกัน

5. วิธีการปรับปรุงรายได้และรายจ่ายของสรรพากร (Adjustment)
* วิธีการปรับรายได้มีหลักเกณฑ์อย่างไร

  • Primary Adjustment เป็นวิธีการปรับอย่างไร
  • วิธีการปรับแบบ Corresponding Adjustment
  • วิธีการปรับแบบ Secondary Adjustment
  • สรรพากรปรับรายจ่ายของบริษัทลูกสูงขึ้นหรือลดลง บริษัทแม่จะปรับรายได้ลดลงหรือเพิ่มขึ้นได้หรือไม่
  • กรณีถูกเจ้าหน้าที่สรรพากรปรับรายได้และรายจ่ายแล้วมีภาษีที่ต้องขอคืน หากไม่ขอคืนจะมีผลอย่างไร หรือไม่
  • กรณีบริษัทแม่ต่างประเทศถูกปรับรายจ่ายลดลงและทําให้มีเงินค้างในบัญชีจะถือว่าเป็นเงินปันผล
    หรือไม่(Deemed Dividend)
  • กรณียื่นแบบไปเมื่อหลายปีแล้วสรรพากรตรวจพบว่ากําหนดราคาตลาดไม่เป็นไปตามที่กฎหมาย
    กําหนดจะมีผลย้อนหลังหรือไม่

6. หากกิจการถูกสรรพากรปรับเรื่องของรายได้และรายจ่ายจะมีผลในการตรวจสอบภาษี
ประเด็นอื่นๆด้วยหรือไม่

  • ประเด็น CIT
  • ประเด็น VAT มีผลหรือไม่
  • ประเด็นหัก ณ ที่จ่าย

7. เหตุอันสมควรที่ไม่ถือเป็น Transfer Pricing ตามกฎหมายยังคงสามารถชี้แจงได้หรือไม่

8. ผู้ประกอบการสามารถใช้วิธีการหาราคาตลาดปฏิบัติตามคําสั่งกรมสรรพากรที่ป.113/2545 ได้หรือไม่

  • Comparable Uncontrolled Price Method
  • Resale PriceMethod
  • Cost Plus Method
  • Other Methods ที่เหมาะสม

9. ประเด็นด้านรายได้ที่จะถือว่าต้องจัดทํารายงานตามมาตรา 71 ตรี

  • รายได้ต้องยึดตามหลักด้านบัญชีหรือด้านภาษี
  • รายได้ที่ยังไม่ได้รับในปีต้องนํามารวมเป็นฐาน 200 ล้านด้วยหรือไม่
  • ต้นปีมีประมาณการว่ามีรายได้เกิน 200 ล้านสิ้นปีรายได้ไม่ถึงต้องจัดทํารายงานความสัมพันธ์หรือไม่

10.วิธีการการจัดทํา Local file, Master file, Country by Country Report

  • โครงสร้างของนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันต้องจัดทําอย่างไร
  • การจัดทํารายงานข้อมูลที่ต้องยื่นพร้อมกับการยื่นแบบภ.ง.ด. 50 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
  • การจัดทํา Transfer Pricing Documentation เพื่อรองรับว่าเป็นราคาตลาดให้สรรพากรยอมรับ
    และตรวจสอบได้
  • การจัดทํารายงานธุรกรรมระหว่างกันรวมถึงมูลค่ารวมหากยังไม่ทราบมูลค่ารวมแน่นอนต้องทําอย่างไร

11.บริษัทที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องทํารายงาน Transfer Pricing Documentation

12. วิธีการจัดทํารายงาน Disclosure Form เพื่อยื่นต่อกรมสรรพากร

  • การยื่น Disclosure Form มีวิธีการยื่นอย่างไร
  • ในระหว่างปีผู้ถือหุ้นเกิดขายหุ้นไปทําให้ไม่ถึง 50 % ถือว่ายังต้องนําส่งรายงานหรือไม่
  • ระหว่างปีธุรกรรมไม่ถึง 200 ล้านบาทแต่ปลายปีกลับมีธุรกรรมที่ทําให้ถึง 200 ล้านบาทแบบคาดไม่ถึงต้องยื่น Disclosure Form หรือไม่

13.การขอคืนภาษีกรณีที่ถูกสรรพากรลดรายจ่ายลง (Tax Refund)

  • หลักการขอคืนภาษีจะขอคืนได้ภายในกี่ปี
  • จะใช้แบบใดในการขอคืน
  • กรณีถูกปรับรายได้หรือรายจ่ายหากมีภาษีที่ต้องขอคืนสรรพากรจะตรวจสอบหรือไม่
  • สามารถใช้หลักการขอคืนตามอนุสัญญาภาษีซ้อนได้หรือไม่

14. โทษปรับที่กําหนดในกฎหมายไม่เกิน 200,000 บาทปรับอย่างไร

  • ปรับเป็นรายธุรกรรม- รวมกันหลายธุรกรรม
  • กรณีทํารายงานไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนดหรือทําไม่ครบถ้วนไม่ถูกต้องต้องดูเจตนาด้วยหรือไม่
  • มีโทษปรับทางแพ่งหรือไม่

เงื่อนไข


1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องกรอกข้อมูล ผ่าน Google Forms
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
4. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
5. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ใน
ระหว่างอบรม
6. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม
*** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***

เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้ทําบัญชีสามารถนับชั่วโมง CPD ได้ ผู้สอบบัญชีนับชั่วโมง
ไม่เป็นทางการ

ผู้ทำบัญชี
1.ผู้ทําบัญชีสามารถใช้อัตราชั่วโมงการอบรมตามจริงจํานวน 1.5 ชม.
แทนการนับชั่วโมง CPD ได้จํานวน 1 ชม.
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องแนบรูปถ่ายหน้าตรงคู่กับบัตรประชาชน ใน Google forms
3.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
4.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
3.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม

Hours of CPD Hours of CPA
นับได้ 4 ชม. ตามการเข้าอบรมจริง (1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.) ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)

Instructor

อาจารย์สาโรช ทองประคำ

Location

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชม.ได้ตามจำนวนการเข้าอบรมจริง 1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.)
Phone :
Website :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba