โครงการอบรมพิเศษ Tax Management Strategies รุ่น 47 (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/8203/1Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 28,890 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 31,030 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


โครงการอบรมพิเศษ Tax Management Strategies รุ่น 47

อบรม Online ผ่านโปรแกรม Zoom

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline 

CPD ไม่สามารถนับชั่วโมงได้ / CPA นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้

 

 

เรียนรู้ภาษีอากรทั้งระบบจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านภาษีระดับประเทศ

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์ อาจารย์ชุมพร เสนไสย อาจารย์มงคล ขนาดนิด
อาจารย์สาโรช ทองประคำ อาจารย์กัมพล ทรัพย์ปรุง อาจารย์ไพบูลย์ ฉายรักษา และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

หัวข้อสัมมนา

นักบริหารภาษีอากรยุคใหม่ (Tax Transformation)
1. Update การเปลี่ยนแปลงทางภาษีอากรและสิทธิประโยชน์ในปัจจุบัน
2. เทคโนโลยีกับภาษีอากรที่นักบริหารภาษีต้องทราบ
3. การวางโครงสร้างองค์กรของธุรกิจและการนําเทคโนโลยีมาใช้เพื่อช่วยในการวางแผนภาษี
4. จุดที่ผู้บริหารต้องระวังเกี่ยวกับภาษีอากร
5. การเลือกรูปแบบธุรกิจเพื่อประโยชน์ทางภาษีของเจ้าของกิจการและนักลงทุน

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
1. Update อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
2. เงินได้พึงประเมินและการวางแผนการรับเงินได้สําหรับบุคคลธรรมดา
3. การบริหารเงินได้ในการเสียภาษีอย่างรู้กฎหมาย ถูกต้อง ประหยัด ปลอดภัย
4. การเลือกลงทุนเพื่อประหยัดภาษีสําหรับบุคคลธรรมดา
5. การวิเคราะห์ข้อดี - ข้อเสียในการเลือกคํานวณภาษี (แยกยื่น - รวมยื่น)
6. Update ค่าลดหย่อนและการยกเว้นภาษีและสิทธิประโยชน์สําหรับบุคคลธรรมดา
ที่ใช้ในปีปัจจุบัน
7. การวางแผนภาษีของผู้มีรายได้สูงตามหลักเกณฑ์กฎหมาย
8. บทลงโทษกรณีไม่ยื่นแบบหรือยื่นรายได้ขาด

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax)
1. อัตราภาษีของนิติบุคคลทั้ง SMEs และบริษัททั่วไป
2. เกณฑ์การรับรู้รายได้ - รายจ่ายตามประมวลรัษฎากร
3. รายจ่ายต้องห้ามและไม่ต้องห้ามทางภาษีที่ต้องระวัง
4. การสร้างระบบเอกสารด้านงานบัญชีเพื่อลดภาระทางภาษี
5. การวางแผนภาษีจากสิทธิประโยชน์เพื่อให้กิจการเสียภาษีน้อยที่สุด

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax)
1. Update กฎหมายภาษีเกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย
- การหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยระบบ e-Withholding Tax
2. หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่ายทั้งระบบ
3. ปัญหาที่พบบ่อยในการหักภาษี ณ ที่จ่าย
- ขายสินค้าพร้อมติดตั้ง
- ซ่อมกับขาย
- เช่าพื้นที่ กับใช้บริการพื้นที่
- ค่าขนส่ง
- ค่าโฆษณากับเงินสนับสนุน
- ค่าที่ปรึกษา
- การจ่ายเงินปันผล
4. เทคนิคการขอคืนภาษีหัก ณ ที่จ่าย
5. วิธีการแก้ปัญหาเมื่อคู่ค้าไม่ยอมให้หักภาษี
- การคํานวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายออกแทน
6. การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
7. ผลกระทบในกรณีที่หักภาษีไว้ไม่ถูกต้อง
8. บทลงโทษกรณี หักขาด หักเกิน หักแล้วไม่นําส่งใครต้องรับผิด

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
1. หัวใจสําคัญของภาษีมูลค่าเพิ่ม
2. การยกเว้นฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม
3. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มในปีปัจจุบันและทิศทางภาษีมูลค่าเพิ่มในอนาคต
4. กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มกิจการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 0% และกิจการที่เสีย 7%
5. การจดทะเบียนการออกจากระบบการเปิดสถานประกอบการเพิ่มการย้ายสถานประกอบการ
6. เทคนิคการออกและใช้ใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้และการจัดทํารายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม
7. จุด Tax Point ในการออกใบกํากับภาษี
8. วิธีการตรวจสอบใบกํากับภาษีปลอม
9. ปัญหาที่พบกับการเฉลี่ยภาษีซื้อ
10. การเครดิตภาษีและการขอคืนภาษีซื้อ
11. เบี้ยปรับ - เงินเพิ่ม และบทกําหนดโทษทางอาญา

ภาษีธุรกิจเฉพาะ / อากรแสตมป์
: ภาษีธุรกิจเฉพาะ
1. ธุรกิจที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
2. กรณีที่ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. วิธีการเสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับธุรกิจขายอสังหาริมทรัพย์
4. ดอกเบี้ยจากการให้กู้ยืมลักษณะใดบ้างที่ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
5. การจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะไม่จดได้หรือไม่
6. อย่างไรเรียกว่า “รายได้ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบกิจการ”
7. สามารถผลักภาระในการเสียภาษีให้ผู้อื่นรับผิดชอบแทนได้หรือไม่
: อากรแสตมป์
1. Update กฎหมายอากรแสตมป์
2. การจัดทําตราสารที่ต้องปิดอากรแสตมป์
3. อย่างไรเรียกว่า “ตราสาร” ตามประมวลรัษฎากร
4. “จ้างทําของ” ที่ต้องติดอากรแสตมป์และไม่ต้องติดอากรแสตมป์
5. สัญญาประเภทใดบ้างที่ไม่ต้องเสียอากร
- ใบ PO ถือเป็นสัญญาหรือไม่
- ทําสัญญาที่ต่างประเทศทั้งกรณีนําเข้ามาและไม่ได้นําเข้ามาต้องเสียอากรหรือไม่
6. การเสียอากรเป็นตัวเงินมีกรณีใดบ้าง
7. เสียอากรแสตมป์ไม่ถูกต้องต้องปฏิบัติอย่างไร
8. บทลงโทษกรณีไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
- หากไม่ติดอากรแสตมป์จะมีผลอย่างไร

อนุสัญญาภาษีซ้อน(Double Taxation Agreement)
1. สาระสําคัญของอนุสัญญาภาษีซ้อน
- อนุสัญญาภาษีซ้อนคืออะไร
- ทําไมต้องมีอนุสัญญาภาษีซ้อน
- เมื่อใดต้องใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน
- อนุสัญญาภาษีซ้อนใช้กับใครและใช้กับภาษีใด
- อนุสัญญาภาษีซ้อนใช้อย่างไร
2. การบังคับใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนกับประมวลรัษฎากร
3. โครงสร้างและการใช้สิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อน
ผลที่เกิดจากการปรับใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน
4. ข้อบทสําคัญในอนุสัญญาภาษีซ้อนที่ควรรู้
- กลุ่ม Active Income
- กลุ่ม Passive Income
5. กรณีศึกษา
- คําพิพากษาศาลฎีกา
- แนวปฏิบัติการสรรพากร
- การจ่ายเงินไปต่างประเทศกับ ภ.ง.ด.54, ภ.พ.36
6. ทิศทางการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในอนาคต

การตรวจสอบภาษี การอุทรณ์ เทคนิคการขอลดหรืองดเบี้ยปรับ (Tax Audit)
1. Update การตรวจสอบภาษีของกรมสรรพากร
2. การตรวจสอบภาษีเกี่ยวกับการทํา Transfer Pricing
3. ประเด็นการถูกตรวจสอบ วิธีการแก้ไขเมื่อสรรพากรตรวจสอบ
4. เอกสารที่ต้องเตรียมเมื่อถูกตรวจสอบ
5. เทคนิคการเจรจาเพื่อลดข้อโต้แย้ง
6. การอุทธรณ์ต้องเสียภาษีก่อนหรือไม่

กลยุทธ์การวางแผนภาษีทั้งระบบ (Tax Planning)
1. การวางแผนองค์กรเพื่อการวางแผนภาษี
2. การเลือกรูปแบบการลงทุน
3. การวางแผนภาษีทั้งระบบขององค์กร
4. การวางแผนด้านรายได้ - รายจ่ายเพื่อช่วยให้กิจการประหยัดภาษี
5. การวางแผนการจ่าย - รับเงินปันผล
6. การวางแผนภาษีซื้อเพื่อลดภาระภาษีขายที่ต้องเสีย
7. การใช้ช่องว่างของกฎหมายในการวางแผนภาษีแต่ไม่ใช่การหลีกเลี่ยงภาษี

สรุปภาพรวมภาษีและฝึกปฏิบัติ
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
อาจารย์มงคล ขนาดนิด
อาจารย์ชุมพร เสนไสย
อาจารย์สาโรช ทองประคำ
อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (CPA นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba