เทคนิคการประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกลางปี (ภ.ง.ด.51) (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/1360Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,210 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,745 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เทคนิคการประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกลางปี
(ภ.ง.ด.51)


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี 6 ชม. (รออนุมัติ)
ผู้สอบบัญชี 6 ชม. (รออนุมัติ)

 

  • ประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.51) อย่างไรไม่ให้ถูกปรับ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์สรรพากร
  • Update กฎหมายใหม่ที่มีผลกระทบในการยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 และแนวทางปฏิบัติเรื่องพิจารณา “เหตุอันสมควร”
  • การเตรียมเอกสารทางบัญชีและประเด็นการตรวจสอบ Pre-Audit
  • 10 Case ที่สรรพากรตรวจพบ จากการประมาณการขาดไป เกิน 25 %

วิทยากรโดย อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

หัวข้อสัมมนา

1. Update กฎหมายใหม่ที่มีผลกระทบในการยื่นแบบภ.ง.ด.51
2. Pre-Audit คืออะไร?
3. นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากรที่ต้องยื่น ภ.ง.ด.51

- ห้างหุ้นส่วนจำกัด
- ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
- บริษัทจำกัด
- บริษัทมหาชนจำกัด
- กิจการร่วมค้า/กิจการค้าร่วม
- มูลนิธิ สมาคม
- บริษัทต่างประเทศที่เข้ามาประกอบกิจการในไทย
- สถาบันการเงิน
- กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
- กิจการที่ประกอบธุรกิจโรงเรียน
4. กรณีใดบ้างที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.51
5. รอบระยะเวลาบัญชีมีผลกระทบการการยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 อย่างไร
- กรณีรอบระยะเวลาบัญชีเริ่ม 1 กุมภาพันธ์ ต้องยื่นภ.ง.ด.51 หรือไม่
- กรณีรอบระยะเวลาบัญชีสุดท้ายไม่ครบ 12 เดือน
- รอบระยะเวลาบัญชีแรกไม่ครบ 12 เดือน ต่อมาเมื่อครบ 12 เดือนต้องนำรอบระยะเวลาบัญชีแรกมาประมาณการด้วยหรือไม่
- กรณีเลิกกิจการหรือควบเข้ากันจะนับรอบระยะเวลาบัญชีอย่างไร
- แจ้งเลิกกิจการแต่ยังไม่ได้ชำระบัญชี
- ขอเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีแต่ยังไม่ได้รับอนุมัติ
- เปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีทำให้รอบไม่ครบ 12 เดือน
6. เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียระหว่างการเสียภาษีกึ่งหนึ่งจากการประมาณการกับการเสียภาษีจากกำไรสุทธิจริงของ 6 เดือนแรก
- บริษัททั่วไปจะคำนวณจากรายได้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงได้หรือไม่
7. ปัญหาในการใช้อัตราภาษีในการคำนวณที่ไม่เท่ากัน
- บริษัททั่วไป
- กิจการ SMEs
- บริษัทในตลาดหลักทรัพย์
- กิจการ ROH
- กิจการ BOI ที่ได้รับสิทธิยกเว้น 50 %
- กิจการพิเศษที่ได้รับสิทธิประโยชน์เสียภาษีในอัตรา 3, 5, 10, 15
- กรณีกิจการมีรายได้เสียภาษีหลายอัตราและไม่สามารถแยกออกจากกันได้ต้องคำนวณอย่างไร
8.การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีและอัตราภาษีแบบขั้นบันไดของ SMEs
- บริษัทที่เป็น SMEs จะประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ภ.ง.ด.51 อย่างไร
- กรณีประมาณการกำไรสุทธิทั้งปีไว้ 2 ล้านบาท การยื่น ภ.ง.ด 51 ที่ SMEsได้รับยกเว้น 150,000 บาท จะต้องคำนวณอย่างไร
- กรณีบริษัท SMEs มีรายได้เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดในระหว่างปีจะคำนวณแบบภ.ง.ด.51 อย่างไร
- ประมาณการไว้ว่ารายได้ทั้งปีไม่ถึง 30 ล้านและใช้สิทธิยกเว้น150,000 บาท ในการคำนวณภ.ง.ด.51 พอสิ้นปีรายได้เกินต้องยื่นภ.ง.ด.51ใหม่หรือไม่
9. สารพันปัญหาการคำนวณภาษีในการยื่นแบบ ภ.ง.ด.51
10. ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่จะนำมาเครดิตในการคำนวณ ภ.ง.ด.51
- มีวิธีการเครดิตอย่างไร
- กรณียื่นเพิ่มเติมมีสิทธินำภาษีหัก ณ ที่จ่ายมาหักออกอีกได้หรือไม่
11. “เหตุอันสมควร” ที่ไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม
- Update แนวทางปฏิบัติกรมสรรพากร ที่มก.53/2560 เรื่องพิจารณาเหตุอันสมควร
- กรณีอย่างไรเรียกว่า “เหตุอันสมควร”
- การอ้างถึงกำไรสุทธิของปีก่อน หมายถึงกำไรที่เสียภาษีแล้วใช่หรือไม่ ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.50/2537
- กรณีประมาณการไว้ว่ารายได้ทั้งปีขาดทุนแต่สุดท้ายมีกำไรเนื่องจากมีคำสั่งซื้อโดยไม่คาดคิดจะถือว่าเป็นเหตุอันสมควรหรือไม่
- อัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาถือเป็นเหตุอันสมควรหรือไม่
- กรณีประมาณการกำไรสุทธิขาดไปเกิน25% เนื่องจาก 6 เดือนหลังบริษัทมีรายได้จากการขายทรัพย์สิน ของบริษัทถือว่ามีเหตุอันสมควรหรือไม่
- กรณีอัตราภาษีของปีก่อนไม่เท่ากันกับปีที่ยื่น ภ.ง.ด.51 ต้องประมาณการอย่างไร
- การรับจ้างที่ค่าจ้างไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับเนื้องาน
12.ผลของการประมาณการกำไรสุทธิคลาดเคลื่อนไปเกิน 25% จะมีผลอย่างไร
- ยื่นเสีย ภ.ง.ด.51 เกินไปจะมีเงินเพิ่มหรือไม่
- วิธีการยื่นเพิ่มเติมของ ภ.ง.ด.51 ยื่นอย่างไร
- ต้องกรอกรายการใหม่ทั้งหมดหรือไม่
- การคำนวณเงินเพิ่มจะเริ่มนับจำนวนเดือนอย่างไร
- การยื่นปรับปรุงแบบภ.ง.ด.51จะสามารถนำหัก ณ ที่จ่ายมาใช้ได้อีกหรือไม่
- การคิดเงินเพิ่มคิดตั้งแต่บาทแรกที่คลาดคลื่อนหรือคิดจากส่วนต่างของ 25%
13.การวางแผนการประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ภ.ง.ด.51 อย่างไรไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม
14.การปรับปรุงและการชำระภาษีเพิ่มเติมกิจการต้องชำระเงินเพิ่มอย่างไรจะขอลดได้หรือไม่
- กรณีรู้อยู่แล้วว่าประมาณการขาดไปเกิน 25% แต่จะไม่ยื่นภ.ง.ด.51 เพิ่มเติมทำได้หรือไม่จะมีผลอย่างไร ถ้าได้ชำระภาษีในแบบภ.ง.ด.50 ครบถ้วน แล้ว
- กรณียื่นแบบไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
15. 10 Case ที่สรรพากรตรวจพบ จากการประมาณการขาดไปเกิน 25%

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม

หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม
เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี

** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **

 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba