กลยุทธ์การตรวจสอบและป้องกันการทุจริตในคลังสินค้า(จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/3379Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 2,996 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,531 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


กลยุทธ์การตรวจสอบและป้องกันการทุจริตในคลังสินค้า

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 


❝พระราชกฤษฎีกากําหนดหน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคล ไม่อยู่ภายใต้บังคับ
แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563❞

• ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่องมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล
ส่วนบุคคล พ.ศ. 2563 (Information Security Standard of Personal Data B.E.2020)

• กฎหมาย GDPR (General Protection Regulation) ของสหภาพยุโรป เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของไทยอย่างไร?

• ISO/IEC27001 มาตรฐานสากลที่มุ่งเน้นด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ให้กับระบบ
สารสนเทศขององค์กรและ ISO/IEC27701 ระบบการบริหารจัดการที่เน้นยํ้าโดยตรงที่ข้อมูลส่วน
บุคคล มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์อันอย่างไร ทําไมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจึงนํามาเป็น
ส่วนหนึ่ง ของประกาศกระทรวงฯ และแนะนําให้นํามาประยุกต์ใช้ได้โดยถือเป็นมาตรฐานที่เหนือกว่า

วิทยากรโดย อาจารย์เดชา ศิริสุทธิเดชา 

หัวข้อสัมมนา

1.ความเกี่ยวข้องระหว่าง กฎหมาย GDPR (General Protection Regulation)
ของสหภาพยุโรป กับกฎหมาย PDPA (Personal Data Protection Acts) ใน
ประเด็นใดบ้าง?


2.ผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2563 มีบทบาทหน้าที่
ความรับผิดชอบอย่างไร? ในสถานะที่แตกต่างกัน อาทิ

• เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (Data subject/PII Principal)
• ควบคุมข้อมูล (Controller/ PII Controller)
• ผู้ประมวลผลข้อมูล (Processor/PII Processor)
• เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO : Data Protection Officer)
• คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPC : Data Protection Committee)

3. 22 กิจการที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 
• กิจการใดบ้าง? ที่ผู้ควบคุมข้อมูลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติฯ
• 22 กิจการ จะต้องเตรียมความพร้อมอย่างไร? ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
• 5 หมวด 1 มาตรา มีอะไรบ้าง? ที่นำมาบังคับใช้
• กิจการซึ่งนอกเหนือไปจาก 22 กิจการตามพระราชกฤษฎีกาจะต้องปฏิบัติให้ครบทุกมาตราโดย
ไม่มีข้อยกเว้นใช่หรือไม่อย่างไร

4.Best Practice ที่ควรใช้ประกอบการจัดทำ “ข้อปฏิบัติในการดูแลข้อมูลส่วนบุคคล”
มีอะไรบ้าง? และจะต้อทำอย่างไร?


5.ข้อมูลส่วนบุคคลที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Controller/ PII Controller) ได้
เก็บรวบรวมเอาไว้ก่อนวันที่กฎหมาย PDPA ใช้บังคับ จะต้องปฏิบัติอย่างไร?


6.หลักความยินยอม (Consent) จะต้องใช้หลักการในการปฏิบัติอย่างไร? ให้ถูกต้อง
ตามกฎหมาย

• ฐานความยินยอมประเภทใด? ที่ไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล
• การยกเลิกข้อมูลส่วนบุคคล กรณีทวงถามจากเจ้าของข้อมูล จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
• หลักยกเว้นไม่ต้องขอความยินยอม (Consent) แบบ 6+6 ได้แก่อะไรบ้าง

7.ทำความเข้าใจ “คำจำกัดความ” ตามประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
เรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2563

• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Controller/ PII Controller)
• ความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล แบบ CIA : ความลับ (Confidentiality)
ความถูกต้อง ครบถ้วน (Integrity) และสภาพพร้อมใช้งาน (Availability)

8.การแจ้งมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ของผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคล ใครเป็นผู้เกี่ยวข้องและจะต้องทำการแจ้งอย่างไร?


9.มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล (PDSM : Personal Data
Security Measures) จะต้องมีการดำเนินการอย่างไร? ในแบบ PAT Safeguard

• ด้านการบริหารจัดการ (Administrative Safeguard)
• ด้านเทคนิค (Technical Safeguard)
• ทางกายภาพ (Physical Safeguard)

10.ส่วนขยายมาตรฐานรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล (SPDS : Security of Personal Data Standard) มีอะไรบ้างที่ต้องรู้และนำไปประยุกต์ใช้

11.ผู้ควบคุมสามารถเลือกใช้มาตรฐานรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
(SPDS : Security of Personal Data Standard) แตกต่างไปจากประกาศฉบับ
นี้ได้หรือไม่และต้องปฏิบัติอย่างไร?

12.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ISO/IEC27001 และ ISO/IEC27701 เกี่ยวข้องอย่างไร?
กับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

• ISO/IEC27001 และ ISO/IEC27701 คืออะไร? เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับเรื่องใด?
• การจัดทำ PDCA เพื่อให้เหมาะสมกับมาตรการที่กำหนด

13.ถาม-ตอบปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

 

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องกรอกข้อมูล ผ่าน Google Forms
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
4. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
5. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
6. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม
*** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์เดชา ศิริสุทธิเดชา

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (CPA นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba