กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สำหรับฝ่ายจัดซื้อ จัดจ้าง บังคับใช้ 1 มิถุนายน 2565

รหัสหลักสูตร : 21/3910

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 

กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สำหรับฝ่ายจัดซื้อ จัดจ้าง
บังคับใช้ 1 มิถุนายน 2565
หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 

• สาระสำคัญของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และ หลักพื้นฐาน “การคุ้มครองข้อมูล
   ส่วนบุคคล” Overview of Data Protection เกี่ยวข้องอย่างไร? กับงานฝ่ายจัดซื้อ
• บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคล และบทบาทหน้าที่
• ชำแหละเอกสาในระบบงานจัดซื้อจัดจ้าง เอกสารใดบ้างที่ต้องปรับปรุงใหม่ให้สอดคล้อง
  กับกฎหมาย PDPA แนะนำการใช้เครื่องมือ (ฟรี) ที่ใช้ในการทำ Data Protection Policy
• กรณีที่ซัพพลายเออร์เป็นบุคคลหรือนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วน มีผลกับกฎหมายฉบับนี้อย่างไร

 

บรรยายโดย อาจารย์เชี่ยวชาญ รัตนามหัทธนะ และ อาจารย์เอกรัตน์ บุณยรัตนกลิน

หัวข้อสัมมน

1. ขั้นตอนการจัดซื้อ จัดจ้างทั่วไป

  • วิธีการจัดซื้อ จัดจ้างในรูปแบบต่างๆ
  • จำนวนวงเงินที่กำหนด ในวิธีการจัดซื้อ จัดจ้างแต่ประเภท
  • รายการในแผนงานจัดซื้อจัดจ้าง
  • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2. สาระสำคัญของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และ หลักพื้นฐาน “การคุ้มครองข้อมูล
    ส่วนบุคคล” Overview of Data Protection เกี่ยวข้องอย่างไร? กับงานฝ่ายจัดซื้อ

  • บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคล และบทบาทหน้าที่
  • ขอบเขตการบังคับใช้ของ PDPA
  • Lawful Basis ฐานทางกฎหมาย
  • หลักการเก็บ รวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูล
  • ประเภทของข้อมูลส่วนบุคคล มีกี่ประเภท
  • บทลงโทษ : โทษทางเพ่ง โทษทางอาญา และโทษทางปกครอง

3. ชำแหละเอกสาในระบบงานจัดซื้อจัดจ้าง เอกสารใดบ้างที่ต้องปรับปรุงใหม่ให้สอดคล้อง
   กับกฎหมาย PDPA แนะนำการใช้เครื่องมือ (ฟรี) ที่ใช้ในการทำ Data Protection Policy

  • ใบขอให้ซื้อ (PR – Purchase Requisition)        
  • ใบเสนอราคา(Quotation)
  • ใบสั่งซื้อ (PO – Purchase Order)             
  • ใบส่งของ(Delivery Note)
  • ใบกำกับภาษี (Tax Invoice)   
  • เอกสารการขึ้นทะเบียนผู้ค้ารายใหม่
  • เอกสารประเมินคู่ค้ารายใหม่
  • เอกสารตั้งเจ้าหนี้
  • เอกสารเพื่อขอเปิดเครดิตกับซัพพลายเออร์

4. กรณีรายละเอียด การดำเนินการ การตรวจสอบระหว่างฝ่ายจัดซื้อกับซัพพลายเออร์

  • ฝ่ายจัดซื้อจะต้องตรวจสอบข้อมูลของซัพพลายเออร์ อะไรบ้าง
  • กรณีที่ซัพพลายเออร์เป็นบุคคลหรือนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วน มีผลกับกฎหมายฉบับนี้อย่างไร
  • การจัดเก็บ รวบรวม ข้อมูลส่วนบุคคลของซัพพลายเออร์ จะต้องมีมาตราการอย่างไร?

5. คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดตั้งทีมงานในบริษัทเพื่อกำกับดูแล เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครอง
   ข้อมูลส่วนบุคคล

  • การพิจารณา เลือก เจ้าหน้าที่ ในทีมงาน

6. ความรับผิดตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของเจ้าหน้าที่จัดซื้อ มีกรณีใดบ้าง
    และมีบทลงโทษอย่างไร?

7. ถาม-ตอบประเด็นปัญหา และตอบข้อสงสัยที่อาจจะมีเพิ่มจากที่บรรยาย

 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์เชี่ยวชาญ รัตนามหัทธนะ
อาจารย์เอกรัตน์ บุณยรัตนกลิน

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ ฟอร์จูน กรุงเทพฯ
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
โทรศัพท์ :
02-6411500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba