การขอ VISA เข้ามาในราชอาณาจักร ใบอนุญาตทำงานคนต่างด้าว
ในประเทศไทย Work Permit
วิทยากรโดย อาจารย์ไพจิตร พาณิชยสัมพันธ์ และ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
หัวข้อสัมมนา
หัวข้อสัมมนา VISA
1. สาระสำคัญและหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และ ระเบียบคำสั่งที่เกี่ยวข้อง2. ตัวอย่างหนังสือเดินทางที่ใช้ในปัจจุบัน3. วีซ่าประเภทของคนอยู่ชั่วคราว (NON Immigrant VISA) มีกี่ประเภทอะไรบ้าง4. ตัวอย่างตราประทับหนังสือเดินทางในหนังสือเดินทาง5. คำขอเปลี่ยนแปลงประเภทการตรวจลงตรา ตม.866. แบบการแจ้งอยู่เกินกว่า 90 วันของบุคคลต่างด้าวตม.477. รายชื่อประเทศที่สามารถยื่นแบบคำขอรับการตรวจลงตรา ประเภท Visa on Arrival (TR-15)8. พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองประทับตราอนุญาต ให้อยู่ได้ 30 วัน (ผ.30)9. ประเทศที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องขอรับการตรวจจากสถานทูต ไทย ประทับตราอนุญาตให้อยู่ได้ 90 วันมีกี่ประเภท10.การตรวจลงตรา VISA มี 9 ประเภทอะไรบ้าง11.หน้าที่ของคนต่างด้าวในการดำเนินการขออนุญาต จะต้องดำเนินการอะไรบ้าง12.หลักเกณฑ์ในการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร มีหลักเกณฑ์ และเอกสารหลักฐานแบบฟอร์ม อะไรบ้าง • ประกอบธุรกิจ • ปฏิบัติงาน • ผู้ติดตาม (บุตร ภรรยา สามีบิดา มารดา) • ใช้ชีวิตบั้นปลาย • ศึกษาในสถานศึกษา ฯลฯ13.อัตราค่าธรรมเนียม สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง Immigrant Current Fees ที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง14.การขอ Re-Entry Permit ปัญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นกรณี ต่างๆ หรือการเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราว15.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณากรณีคนต่างด้าว ขออนุญาตอยู่ในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราว • กรณีเพื่อการลงทุน ให้อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปี • กรณีการลงทุนไม่น้อยกว่า 3 ล้าน • กรณีลงทุน ไม่น้อยกว่า 10 ล้าน • กรณีเพื่อการท่องเที่ยว อนุญาตครั้งละไม่เกินกี่วัน แต่รวม แล้วไม่เกินกี่วัน นับแต่วันที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร มีหลักเกณฑ์การพิจารณาอย่างไร • กรณีเป็น ครู / อาจารย์ / ผู้เชี่ยวชาญในสถานศึกษาของรัฐ หรือเอกชน ให้อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปี • กรณีใช้ชีวิตในบั้นปลาย อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปีและมีหลัก เกณฑ์การพิจารณาอย่างไร16.ถาม - ตอบปัญหาหัวข้อสัมมนา Workpermit1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว2. การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในประเทศไทย มีหลักเกณฑ์อย่างไร?3. งานประเภทใดบ้าง? ที่กำหนดให้เป็นงานที่คนต่างด้าว “ห้ามทำ” มีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร?4. หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการนำคนต่างด้าวเข้ามา ทำงานในประเทศ จะต้องปฏิบัติอย่างไร?5. เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาขอรับใบอนุญาต ทำงานของ นายจ้างและคนต่างด้าว • แบบ บต.๑ ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ6. ขั้นตอนในการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) เอกสาร หลักฐานแบบฟอร์มต่างๆ ค่าธรรมเนียมและใบมอบอำนาจ ทำการแทนที่ปฏิบัติต่อคนต่างด้าวเข้า หรือเข้ามาในประเทศไทยแล้ว7. คุณสมบัติของคนต่างด้าวที่จะขอใบอนุญาตทำงาน ตามหลักเกณฑ์ใหม่8. อัตราค่าธรรมเนียม ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จะต้องใช้อัตราอย่างไร? • ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงาน • การต่ออายุใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงาน • การจ้างคนต่างด้าว • การต่ออายุใบอนุญาตทำงานหรือการขยายระยะเวลา9. การกําหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของนายจ้างและผู้ได้รับ ใบอนุญาตเข้ามาทำงานในประเทศไทยให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น10. การสร้างช่องทางการร้องทุกข์และการเข้าถึงช่องทางการร้องทุกข์ สำหรับคนต่างด้าว11. การกำหนดมาตรฐานในการเรียกเก็บค่าบริการและค่าใช้จ่าย ในการนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน12. การขึ้นทะเบียนตัวแทนนายจ้างและตัวแทนคนต่างด้าว13. การกำหนดมาตรการทางปกครองให้มีการประกาศรายชื่อนายจ้าง ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย14. ประเด็นสำคัญ...ในการรับคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน ในสถาน ประกอบการของนายจ้างและบทลงโทษกรณีฝ่าฝืนจะต้อง รับโทษอย่างไร? และอัตราเท่าไหร่? (โทษปรับ โทษจำคุก)ในประเด็นใดบ้าง? • การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวมาทำงาน โดยไม่ได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดีฯ • การรายงานการนำคนต่างด้าวมาทำงาน กับนายจ้างต่อ อธิบดีกรมการจัดหางาน • ลูกจ้าง คนงาน ทำงานตามบ้าน สำนักงานต่างๆ • การรับคนต่างด้าวทำงานที่ห้ามคนต่างด้าวทำ • รับคนต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาตทำงาน • รับคนต่างด้าวทำงานไม่ตรงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต15.ถาม-ตอบปัญหา
รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1