100 ประเด็น 100 ปัญหา แนวปฏิบัติการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่ต้องระมัดระวัง

รหัสหลักสูตร : 21/2271

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

100 ประเด็น 100 ปัญหา แนวปฏิบัติการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี

ที่ต้องระมัดระวัง

หัวข้อสัมมนา

1. มาตรฐานการบัญชีที่บังคับใช้ในปัจจุบัน
2. ทิศทางของการปรับเปลี่ยนมาตรฐานที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจในยุคการค้าเสรีอาเซียน
3. มาตรฐานการบัญชีที่ยกเว้นสำหรับกิจการทั่วไป
4. วัตถุประสงค์ที่สำคัญของกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
5. กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงินคืออะไรและเป็นมาตรฐานการบัญชีหรือไม่
6. ในการบันทึกบัญชีและการับรู้รายการทางบัญชีจะต้องอยู่ภายใต้ข้อสมมุติใดบ้าง
7. การจัดทำบัญชีและงบการเงินจะใช้เกณฑ์คงค้างหรือเกณฑ์เงินสดมีหลักเกณฑ์อย่างไร
8. อย่างไรจึงจะถือว่างบการเงินมีลักษณะเชิงคุณภาพ
9. งบการเงินจะเชื่อถือได้นั้นมีหลักเกณฑ์อย่างไร
10. การจัดทำงบการเงินเน้นเนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบมีหลักเกณฑ์อย่างไร
11. ประเภทของรายการทางบัญชีตามองค์ประกอบของงบการเงินมีอะไรบ้าง
12. การวัดมูลค่าและเกณฑ์ในการใช้วัดมูลค่าเพื่อรับรู้จำนวนเงินในงบการเงิน
13. อย่างไรถือเป็นสินค้าคงเหลือตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2
14. ปัญหาในการจัดทำบัญชีสินค้าและการบันทึกบัญชี
15. ความแตกต่างการบันทึกบัญชีแบบต่อเนื่องและแบบสิ้นงวด
16. การวัดมูลค่าของสินค้าคงเหลือมีกี่วิธี กิจการมีหลักเกณฑ์เลือกวัดมูลค่าอย่างไร
17. ต้นทุนของสินค้าคงเหลือประกอบด้วยอะไรบ้าง
18. การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือโดยวิธีมูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นอย่างไร
19. เมื่อใดกิจการรับรู้สินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่าย
20. ปัญหาในการตีราคาสินค้าคงเหลือ และผลกระทบต่อการบันทึกบัญชี
21. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่ากิจการมีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็นอย่างไร
22. การรับรู้รายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จะต้องเข้าเงื่อนไขใดบ้าง
23. องค์ประกอบของต้นทุนที่ดินอาคารและอุปกรณ์
24. ภาษีซื้อที่เรียกคืนไม่ได้จะถือเป็นต้นทุนของที่ดินอาคารและอุปกรณ์หรือไม่การวัดมูลค่าของต้นทุนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
25. การวัดมูลค่าของต้นทุนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
26. การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการมีกี่วิธี
27. ความแตกต่างของราคาทุนกับราคายุติธรรม
28. หลักเกณฑ์ในการตีราคาใหม่ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
29. มีกรณีใดบ้างที่กิจการจะต้องโอนส่วนเกินทุนไปยังกำไรสะสม
30. ตัวอย่างการบันทึกบัญชี การตีราคาสินทรัพย์ใหม่
31. การแลกเปลี่ยนสินทรพัย์จะใช้ราคาใดบันทึกบัญชี
32. ปัญหาการบันทึกบัญชี การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์
33. ข้อจำกัดที่สำคัญในการตีราคาทรัพย์สิน
34. ในการตีราคาทรัพย์สินตํ่าลงจะมีผลในการบันทึกบัญชีอย่างไร
35. ปัญหาการบันทึกบัญชีแลกเปลี่ยนสินทรัพย์คล้ายคลึงกัน
36. ปัญหาการบันทึกบัญชีและเปลี่ยนสินทรัพย์ที่แตกต่างกัน
37. กิจการจะต้องมีการทบทวนอายุการใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์หรือไม่
38. การเลือกวิธีการหักค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์มีหลักเกณฑ์อย่างไร
39. การรับรู้ค่าเสื่อมราคามีหลักเกณฑ์อย่างไร
40. อะไหล่ของเครื่องจักรที่ซื้อมาสำรองไว้เพื่อเปลี่ยนจะบันทึกบัญชีเป็นสินทรัพย์หรือค่าใช้จ่าย
41. สินทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้งานหรือหยุดใช้งานจะตัดค่าเสื่อมราคาหรือไม่
42. กิจการจะตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เมื่อใด
43. สินทรัพย์ชำรุดเสียหายจะตัดออกจากบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายได้เมื่อใด
44. การสิ้นสุดการคิดค่าเสื่อมราคาจะเกิดขึ้นเมื่อใด
45. กิจการจะต้องพิจารณาการด้อยค่าสินทรัพย์หรือไม่เมื่อใด
46. การแสดงมูลค่าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์มีกี่วิธี
47. ซอฟท์แวร์ที่ติดมากับคอมพิวเตอร์จะบันทึกบัญชีแยกหรือรวมกัน
48. เมื่อไหร่เริ่มคิดค่าเสื่อมราคราสินทรัพย์
49. กิจการซื้อที่ดินพร้อมอาคารรวมกันจะใช้ราคาอะไรในการบันทึกบัญชี
50. ความหมายของรายได้
51. การรับรู้รายได้ แนวปฏิบัติที่สำคัญ
52. การวัดมูลค่าของรายได้จะใช้ราคาอะไร
53. รายได้จากการขายสินค้าจะรับรู้ต้องเข้าเงื่อนไขอะไรบ้าง
54. กิจการขายสินค้าจะไม่รับรู้เป็นรายได้ในกรณีใด
55. รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์จะรับรู้อย่างไรตามหลักเกณฑ์ใหม่
56. การขายสินค้าที่มีเงื่อนไข เช่น ขายสินค้าพร้อมติดตั้ง ผู้ซื้อสามารถคืนสินค้าได้จะรับรู้เมื่อใด
57. กิจการฝากขายสินค้าจะรับรู้รายได้อย่างไร
58. การขายสินค้าที่ตกลงชำระเงินต่อเมื่อส่งมอบสินค้ารับรู้รายได้เมื่อใด
59. การขายสินค้าโดยการผ่อนชำระมีหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้อย่างไร
60. ค่าสมาชิกค่าหนังสือพิมพ์ นิตยสาร มีหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้อย่างไร
61. การรับรู้รายได้ของกิจการให้บริการ
62. ธุรกิจให้บริการประเภทใดที่รับรู้รายได้โดยวิธีขั้นความสำเร็จของงาน
63. ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง จะรับรู้รายได้อย่างไรบ้าง
64. มีวิธีอะไรบ้างในการวัดขั้นความสำเร็จของงานของธุรกิจให้บริการ
65. การให้บริการติดตั้งรับรู้รายได้อย่างไร
66. กิจการให้บริการค่านายหน้าตัวแทน เช่น นายหน้าขายสินค้านายหน้าค่าโฆษณานายหน้าค่าประกันภัยจะรับรู้รายได้อย่างไร
67. รายได้ค่าบริการสมาชิก ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุงสมาชิก จะรับรู้รายได้อย่างไร
68. หลักเกณฑ์ในการรับรู้รายได้อื่น
69. รายได้เงินปันผล จะรับรู้ได้อย่างไร และเงื่อนไขที่สำคัญ
70. รายได้ค่าดอกเบี้ย รายได้ค่าสิทธิ มีหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้อะไรบ้าง
71. ลูกหนี้ประเภทใด ที่จะนำมาตัดจำหน่ายหนี้สูญ
72. วิธีการบันทึกบัญชีในการตัดจำหน่ายหนี้สูญมีกี่วิธี
73. ข้อดีและข้อเสียในการตัดจำหน่ายหนี้สูญ
74. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีหลักเกณฑ์อย่างไร
75. หลักเกณฑ์การประมาณการหนี้สงสัยจะสูญตามมาตรฐานการบัญชี
76. การบันทึกบัญชี การประมาณการหนี้สงสัยจะสูญ
77. กิจการจะตัดรายการลูกหนี้ออกจากบัญชีในกรณีใดบ้าง
78. หลักเกณฑ์การบันทึกบัญชีในการตัดจำหน่ายหนี้สูญ
79. แนวปฏิบัติและการบันทึกบัญชีกรณีหนี้สูญได้รับคืน
80. ต้นทุนการกู้ยืม ความหมายและหลักเกณฑ์ที่สำคัญ
81. ส่วนประกอบของต้นทุนการกู้ยืม ประกอบด้วยอะไรบ้าง
82. ต้นทุนการกู้ยืมมีหลักเกณฑ์อย่างไรที่จะถือเป็นค่าใช้จ่าย
83. ต้นทุนการกู้ยืมมีหลักเกณฑ์อย่างไร ที่จะถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์
84. แนวปฏิบัติของต้นทุนการกู้ยืม
85. ปัญหาการคำนวนต้นทุนการกู้ยืมในการจัดหาสินทรัพย์
86. เมื่อไหร่จะถือเป็นสิ้นสุดการรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์
87. การจัดทำและนำเสนองบการเงินรูปแบบใหม่ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1
88. ประเภทและรูปแบบงบการเงินใหม่
89. การจัดทำงบการเงินจะต้องพิจารณาข้อสมมุติฐานอะไรบ้าง
90. ข้อมูลที่ต้องมีในงบการเงินและข้อจำกัดในการจัดทำงบการเงิน
91. ความหมายของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด
92. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจัดทำงบกระแสเงินสด
93. การจัดทำงบกระแสเงินสดและประเภทของรายการในงบกระแสเงินสด
94. ปัญหาในการจัดทำงบกระแสเงินสด วิธีทางตรงและวิธีทางอ้อม
95. ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่ายจะถือเป็นกิจกรรมใดในงบกระแสเงินสด
96. เงินปันผลรับและเงินปันผลจ่ายจะถือเป็นกิจกรรมใดในงบกระแสเงินสด
97. นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน
98. การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีมีอย่างไรบ้างแนวปฏิบัติที่สำคัญ
99. ข้อผิดพลาดที่สำคัญจะปรับปรุงในรอบระยะบัญชีใด
100. เตรียมรับมือมาตรฐานการบัญชีที่จะนำออกมาใช้ใหม่มีอะไรบ้าง
101. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

ดร.วิทยา อรุณศิริเพ็ชร

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ :
02-641-1500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba