45 ประเด็นปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล พร้อมการเเก้ไขเเละหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง

รหัสหลักสูตร : 23/4515

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 1,284 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 1,712 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้อสัมมนา

1. Update เงื่อนไขและหลักเกณฑ์ในการคำนวณกำไรสุทธิ ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร

2. กำไรสุทธิและรอบระยะเวลาบัญชีที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

3. เกณฑ์การรับรู้รายได้และรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ

4. รายได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

5. รายได้ที่ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล

6. รายได้ที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกึ่งหนึ่ง

7. รายได้ที่บัญชีไม่ถือเป็นรายได้ แต่ประมวลรัษฎากรถือเป็นรายได้มีอะไรบ้าง

8. รายจ่ายและเงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิ

9. ปัญหาและหลักเกณฑ์ในการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน

10. สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรในการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ทรัพย์สินมีอะไรบ้าง

11. การตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้นภาษีอากรมีเงื่อนไขใดบ้าง

12. ณ วันสิ้นงวดบัญชี กิจการจะต้องมีการปรับปรุงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจะต้องใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด

13. การโอนทรัพย์สิน การให้บริการหรือให้กู้ยืมเงินโดยไม่คิดค่าตอบแทนสรรพากรจะยอมรับหรือไม่

14. หลักเกณฑ์ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีจะใช้ราคาใด
15. หลักเกณฑ์ในการจำหน่ายหนี้สูญตามประมวลรัษฎากร

16. กิจการได้รับเงินปันผลมีหลักเกณฑ์อย่างไรในการยกเว้นภาษี

17. การตั้งสำรองต่างๆของกิจการจะถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้หรือไม่

18. อย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายส่วนตัว ให้โดยเสน่หา

19. ทำอย่างไรให้บริษัทสามารถนำรายจ่ายที่เกี่ยวกับสวัสดิการพนักงานมาลงเป็นรายจ่ายได้

20. หลักเกณฑ์การบริจาคเพื่อการกุศล และรายจ่ายเพื่อการศึกษาและการกีฬา

21. บริจาคอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้น 100%

22. การคำนวณรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาและการกีฬา

23. การซื้อของไปบริจาค จะลงรายจ่ายได้หรือไม่ มีหลักเกณฑ์อย่างไร

24. รายจ่ายเพื่อการรับรองมีหลักเกณฑ์อย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้

25. การคำนวณค่ารับรองที่จะถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ

26. มีวิธีพิจารณาอย่างไรจึงจะทราบว่ารายจ่ายที่กิจการจ่ายไปเป็นทรัพย์สินหรือค่าใช้จ่าย

27. ความแตกต่างระหว่างรายจ่ายที่มีลักษณะลงทุนกับรายจ่ายเพื่อหากำไร

28. การต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออกหรือทำให้ดีขึ้น จะถือเป็นทรัพย์สินหรือค่าใช้จ่าย

29. มีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร จึงจะถือเป็นค่าซ่อมแซมทรัพย์สิน

30. ค่าใช้จ่ายในการยกเครื่องยนต์ เครื่องจักรจะถือเป็นทรัพย์สินหรือค่าใช้จ่าย

31. การกำหนดเงื่อนไขรายจ่ายเกิน 500 บาท ถือเป็นทรัพย์สินไม่เกิน 500 บาทถือเป็นค่าใช้จ่ายสรรพากรยอมรับหรือไม่

32. ค่าปรับจราจร ค่าปรับศุลกากร ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้หรือไม่

33. ภาษีซื้อที่กิจการมีสิทธิขอคืน แต่กิจการไม่ต้องการขอคืน จะนำมาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่

34. มีวิธีการพิจารณาอย่างไรที่จะถือว่า  เงินเดือนค่าจ้างที่จ่ายเกินสมควรสรรพากรไม่ยอมรับ

35. รายจ่ายที่ควรจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น จะนำมาถือเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันได้หรือไม่

36. ซื้อของแล้วได้รับบิลเงินสดระบุว่า “สด” จะนำมาถือเป็นรายในการคำนวณกำไรสุทธิได้หรือไม่

37. รถยนต์ถูกไฟไหม้เสียหายทั้งหมด จะตัดเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเมื่อใด

38. อย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ

39. ซื้อของไม่มีบิล ทำอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้

40. หลักเกณฑ์ในการหักผลขาดทุนย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี

41. จุดที่ต้องระวังเกี่ยวกับรายจ่ายข้ามรอบบัญชี

42. อัตราภาษีของนิติบุคคลที่เป็น SME กับจุดสำคัญที่นักบัญชีต้องระวังเพื่อป้องกันความผิดพลาด

43. การบวกกลับรายจ่ายเพื่อการคำนวณกำไรสุทธิ

44. การบวกกลับโดยสรรพากร นักบัญชีจะต้องเตรียมทำอย่างไร

45. ประเด็นการตรวจสอบของสรรพากร เมื่อยื่นแบบ ภ.ง.ด.50

46. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ธงชัย ยางงาม

สถานที่

โรงแรมอินทรา
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba