กฎหมายประกันสังคม กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ที่นายจ้างและ HR ต้องรู้

รหัสหลักสูตร : 21/3454

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,745 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,494 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


กฎหมายประกันสังคม กองทุนประกันสังคม
กองทุนเงินทดแทน ที่นายจ้างและ HR ต้องรู้

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

 

●กรณีเจ็บป่วย กรณีทันตกรรม กรณีว่างงาน กรณีชราภาพ กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีตาย
●ด่วน!! กองทุนเงินทดแทน เปลี่ยนแปลง "กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาล ที่นายจ้างต้องจ่าย" ใหม่เพิ่มค่ารักษาพยาบาลให้ลูกจ้าง ที่เจ็บป่วยจากการทำงานเบิกได้สูงสุด ถึง 1 ล้านบาท
●หลักเกณฑ์และสิทธิประโยชน์ของกองทุนเงินทดแทนอัตราค่ารักษาพยาบาล กรณีโรคเรื้อรัง โรคร้าย โรคมะเร็ง การฟอกไต ฯลฯ
●เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง "อัตราค่ารักษาพยาบาล" ของกฎกระทรวงเดิม (พ.ศ.2551) และกฎกระทรวงใหม่ (พ.ศ.2558) กองทุนเงินทดแทน

วิทยากรโดย อาจารย์สุจิตรา บุญชู

หัวข้อสัมมนา

1. Update..กฎหมายประกันสังคม
- กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย มีการเพิ่มสิทธิใด บ้างและค่าใช้จ่ายเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นมีสิทธิได้รับ หรือไม่อย่างไร
- กรณีผู้ประกันเจ็บป่วยเรื้อรัง มีเพิ่มสิทธิได้รับประโยชน์ ทดแทนกรณีตายอย่างไรบ้าง
- กรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับเงินค่าคลอด บุตรโดยไม่จำกัดครั้งและยังได้รับเงินค่าคลอดบุตรเหมา จ่ายยังเท่าเดิมหรือไม่
- กรณีทุพพลภาพ มีการเพิ่มสิทธิให้ผู้ประกันตนที่สูญเสีย สมรรถภาพของร่างกายอย่างไรบ้าง
- กรณีตาย เงินสงเคราะห์ที่ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย ได้รับเพิ่มมีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมบ้าง
2. หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม
3. ขอบเขตและการบังคับใช้ของกฎหมายประกันสังคม
4. การใช้สิทธิประโยชน์ตามกองทุนประกันสังคม 7 กรณี สำหรับผู้ประกันตน
- กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
- กรณีคลอดบุตร
- กรณีสงเคราะห์บุตร
- กรณีทุพพลภาพ
- กรณีตาย
- กรณีว่างงาน ยกเว้นผู้ประกันตน ตามมาตรา 39
5. บทบาทหน้าที่ของนายจ้าง และลูกจ้าง ในการส่งเงิน สมทบประกันสังคม
6. อัตราและวิธีการเรียกเก็บเงินสมทบของนายจ้างและ ลูกจ้าง จะต้องปฏิบัติอย่างไรสิทธิประโยชน์ภายหลังการ สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน ตาม มาตรา 33
7. กรณีลูกจ้างได้รับสิทธิหยุดงานเนื่องจากตั้งครรภ์เป็นเวลา นาน เมื่อกลับเข้าทำงานจะได้รับค่าจ้างและการนับระยะ เวลาทำงานต่อเนื่องหรือไม่
8. หน้าที่ของโรงพยาบาลตามสิทธิในการให้บริการทางการ แพทย์แก่ผู้ประกันตน
9. ด่วน!!! การเปลี่ยนแปลงกฎกระทรวง เรื่อง “การกำหนด อัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ.2558”
10. เรื่องลักษณะประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่ง รุนแรงหรือเรื้อรังและเรื่องประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยที่ คณะกรรมการแพทย์จะพิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษา พยาบาลเพิ่มเติม ค่ารักษาพยาบาลกรณีใด? ที่ลูกจ้าง สามารถเบิกได้สูงสุดถึง 1,000,000 บาท”
11. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง “อัตราค่ารักษา พยาบาล” ของกฎกระทรวงเดิม (พ.ศ.2551) และ กฎกระทรวงใหม่ (พ.ศ.2558)
- กรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
- กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เพียงพอสำหรับกรณีประสบ อันตรายหรือเจ็บป่วยในลักษณะต่างๆ
12. หลักการและแนวทางการวางระบบการจ่ายค่ารักษา พยาบาล สำหรับนายจ้างเจ้าของกิจการ
13. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน เพื่อประโยชน์ ของนายจ้างและลูกจ้างในการบริหารจัดการ
14. กรณีการส่งตัวลูกจ้างเข้ารักษาพยาบาล
15. สิทธิการได้รับเงินทดแทน ภายหลังการสิ้นสภาพการเป็น ลูกจ้าง
16. สิทธิประโยชน์เงินทดแทนที่นายจ้างและลูกจ้างต้อง ทำความเข้าใจอย่างถ่องแท้
17. กรณีศึกษาที่น่าสนใจเกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทนและ หลักการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
18. ถาม-ตอบปัญหา


กำหนดการอบรม

วันพุธที่ 25 เมษายน 2561

เวลา 09.00-16.00 น.

โรงแรม สวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด

ถ. รัชดาภิเษก(รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง)

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิก (Tax/HR)

3,500 + Vat 245 = 3,745 บาท

บุคคลทั่วไป

4,200 + Vat 294 = 4,494 บาท

 

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สุจิตรา บุญชู

สถานที่

โรงแรมสวิส โฮเต็ล
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

รถไฟฟ้าใต้ดินสถานี ห้วยขวาง
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba