กฎหมายแรงงานสำหรับการบริหารงานบุคคล

รหัสหลักสูตร : 21/3101/4

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,745 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,494 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

กฎหมายแรงงาน
สำหรับการบริหารงานบุคคล

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

 

วิทยากรโดย อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

หัวข้อสัมมนา

1. Update!! กฎหมายแรงงาน ปี2561

2. ผลกระทบจากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำต่อนายจ้างและฝ่ายบุคคล

3. สาระสำคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่ายบุลคล (HR) ต้องรู้

    - กำหนดโดยข้อตกลงร่วมกัน (Mutual agreement)ข้อตกลงสัญญาจ้าง, ข้อตกลงสภาพ การจ้าง

4. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารตามกฎหมายแรงงาน

    - การมอบหมายงานในหน้าที่
    - คำสั่งโยกย้ายตาแหน่งหน้าที่
    - คำสั่งย้ายสถานที่ทำงาน
    -คำสั่งทำงานล่วงเวลา
    - คำสั่งทำงานในวันหยุด

5. เทคนิคการใช้ข้อบังคับในการทำงาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจะต้องปฏิบัติอย่างไร?

    - กรณีนายจ้างแก้ไขสภาพการจ้างฝ่ายเดียวทำได้หรือไม่
    - การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างต้องปฏิบัติอย่างไร?
    - การรับรู้ของพนักงาน กรณีแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง
6. การกำหนดวัน เวลาทำงานเวลาทำงานปกติ (regular working times) เวลาพัก (Rest period) วันหยุดประจำสัปดาห์ (Weekly holiday) วันหยุดตามประเพณี (Traditional holidays) วันหยุดพักผ่อนประจำปี (Annual Vacation) วันลา (Leave for absence)
    - การกำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำงานในแต่ละวัน และต่อสัปดาห์
    - กรณีงานอันตราย จะต้องกำหนดระยะเวลาการทำงานอย่างไร?
    - นายจ้างต้องจัดเวลาพักให้กับลูกจ้างหลังจากทำงานติดต่อกัน กี่ชั่วโมง
    - “เวลาพัก” นับเป็นเวลาทำงานหรือไม่
    - กรณีลูกจ้างทำงานล่วงเวลา จะต้องจัดเวลาพักอย่างไร?
    - การสลับวันทำงาน หากลูกจ้างยินยอมนายจ้างสามารถทำได้หรือไม่?
    - การจัดวันหยุดประจาสัปดาห์จะต้องหยุดอย่างไร? จำนวนเท่าไหร่?
    - หลักเกณฑ์การกำหนดวันหยุดตามประเพณี
    - จำนวนสิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามกฎหมาย
    - กรณีเลิกจ้าง การจ่ายค่าจ้างตามวันหยุดพักผ่อนประจำปีจะต้องคำนวณอย่างไร?
    - วันลามีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? และมีสิทธิอย่างไร?
7. ค่าจ้าง (Wage) จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์อะไรบ้าง
    - องค์ประกอบสำคัญของคำว่า “ค่าจ้าง”
    - หลักเกณฑ์การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด (รวมทั้งกรณีเป็นลูกจ้างรายวันและรายเดือน)
    - หลักเกณฑ์การจ่ายอัตราค่าล่วงเวลาค่าทำงานในวันหยุด
    - การสลับวันทำงาน หากลูกจ้างยินยอม นายจ้างสามารถทำได้หรือไม่?
8. การดำเนินการลงโทษทางวินัย จะต้องพิจารณาและมีขั้นตอน อย่างไร?
    - กรณีลูกจ้างกระทำผิดร้ายแรงและกระทำผิดไม่ร้ายแรง แตกต่างกันอย่างไร? และมีประเด็นใดในการพิจารณา
    - ขั้นตอนในการลงโทษทางวินัยที่ถูกต้องตามกฎหมาย
    - การออกหนังสือเตือน จะต้องดำเนินการอย่างไร?
    - หลักเกณฑ์การเลิกจ้าง นายจ้างจะต้องดำเนินการอย่างไร ?
    - ตัวอย่าง : สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า และ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น หากบอกกล่าวล่วงหน้าไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
    - ค่าชดเชย (Severance Pay) ค่าชดเชยพิเศษ(Special Severance Pay) จะได้รับในกรณีใดบ้าง? และเป็นจำนวน เงินเท่าไหร่?
9. กรณีลูกจ้างเกษียณอายุ
    - หลักเกณฑ์ใหม่ กรณีเกษียณอายุจะต้องปฏิบัติอย่างไร?
    - หลักเกณฑ์การเกษียณอายุจะต้องเขียนในระเบียบข้อบังคับการทำงานหรือไม่
    - กรณีมีการจ้างงานหลังเกษียณอายุจะต้องจ่ายค่าชดเชย ก่อนหรือหลังจากการเริ่มงานใหม่
    - กรณีลูกจ้าง “เสียชีวิต” หลังจากการจ้างงานต่อจากการเกษียณอายุ นายจ้างจะต้องทำอย่างไร?

กำหนดการอบรม

วันพฤหัสบดีที่ 31 พฤษภาคม 2561

เวลา 09.00-16.00 น.

โรงแรมจัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23)

อาคารจัสมินซิตี้ (รถไฟฟ้า BTS สถานีอโศก/รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีสุขุมวิท)

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิก (Tax/HR)

3,500 + Vat 245 = 3,745 บาท

บุคคลทั่วไป

4,200 + Vat 294 = 4,494 บาท

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

สถานที่

โรงแรมจัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23)
2 ซอย สุขุมวิท 23 แขวง คลองเตยเหนือ เขต วัฒนา กรุงเทพมหานคร 10250
โทรศัพท์ :
02 204 5888
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba