60 ประเด็นรายได้และค่าใช้จ่ายปัญหาการคำนวณกำไรสุทธิที่ต้องระมัดระวังเมื่อถูกสรรพากรเรียกตรวจสอบ

Course Code : 21/2924

Course Schedule

Course Price

Members Magazine : 4,280 Thai Baht ( Include VAT )
Non Members : 5,029 Thai Baht ( Include VAT )

Course Detail

หัวข้อสัมมนา

1. ประเภทการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมิน

2. กระบวนการตรวจสอบและข้อพิพาท

3. สาเหตุการของการถูกตรวจสอบและออกหมายเรียก

4. ประเด็น “รายได้” ที่มักถูกเรียกตรวจสอบจะต้องเตรียมข้อมูลอย่างไร

- ทำไมรายได้ของปีปัจจุบันต่ำกว่าปีก่อน

- กำไรขั้นต้นของกิจการน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับยอดขาย

- รับรู้รายได้ไม่เป็นไปตามเกณฑ์สิทธิ ไม่ครบถ้วน

- แสดงรายได้ในงบกำไรขาดทุนไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง

- รายได้อื่นเสียภาษีไม่ครบถ้วน หลบรายได้อื่น

- รายได้ที่ยกเว้นภาษี ไม่เข้าเงื่อนไขยกเว้น

- กำหนดราคาโอนต่ำกว่าราคาตลาด

- ขายสินค้าหรือให้บริการบริษัทในเครือราคาต่ำเกินไปหรือขายไม่มีกำไร

- รายได้ที่กิจการไม่ถือเป็นรายได้ แต่ทางภาษีต้องถือเป็นรายได้

- รายได้ที่กิจการถือเป็นรายได้ แต่ทางภาษียกเว้นให้

- ขายสินค้าหรือให้บริการต่ำกว่าราคาตลาด โดยมีเหตุไม่สมควร

- รายได้ทีไม่เคยได้รับ แต่ได้รับ จะตรวจสอบรายได้ ย้อนหลังหรือไม่

- สรรพากรให้เพิ่มรายได้ ผลกระทบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีหัก ณ ที่จ่าย

- รายได้ใน ภ.ง.ด.50 ไม่ตรงกับยอดขายใน ภ.พ.30 ต้องกระทบยอดอย่างไร

- ทำไมรายได้ใน ภ.ง.ด.50 จึงไม่ตรงกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย(ภ.ง.ด.53)

- รายได้จากการให้กู้ยืม เสียภาษีไม่ครบถ้วน

- เงินให้กู้ยืม ประเด็นที่มักถูกสรรพากรประเมินให้บวกกลับเป็นรายได้

- กิจการมีลูกหนี้ค่าหุ้นในงบแสดงฐานะการเงิน แต่สรรพากรประเมินเป็นรายได้

- การให้บริษัทในเครือใช้พื้นที่ ใช้อุปกรณ์สำนักงาน และจัดทำบัญชีให้ กิจการจะต้องรับรู้รายได้หรือไม่

5. ประเด็น “รายจ่าย” ที่มักถูกตรวจสอบ และวิธีจัดเตรียมข้อมูลพร้อมตอบข้อโต้แย้ง

- เอกสารประกอบการจ่ายเงินควรจะต้องมีอะไรบ้าง ให้สรรพากรยอมรับ

- กิจการจ่ายเงินและได้รับบิลเงินสด จำเป็นหรือไม่ต้องมีชื่อที่อยู่ของกิจการจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้

- กิจการมีค่าใช้จ่ายที่เอกสารเป็นกระดาษความร้อน

จะนำมาถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ เนื่องจากจะจางหายไปอ่านไม่ออกอีก 3 เดือนถัดไป

- มีรายจ่ายอะไรบ้างที่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม และต้องบวกกลับ

- รายจ่ายที่ต้องบวกกลับ แต่บวกกลับไม่ครบถ้วน

- รายจ่ายส่วนตัว รายจ่ายให้โดยเสน่หา ความผิดพลาดที่ถูกประเมิน

- รายจ่ายค่าการกุศลไม่เข้าเงื่อนไขถือเป็นรายจ่ายได้

- กิจการประสบผลขาดทุนแต่มีการบริจาคจะถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่

- ค่าใช้จ่ายพนักงาน สวัสดิการพนักงาน ประเด็นที่ถูกเรียกตรวจสอบ

- ค่าตอบแทนกรรมการอย่างไรที่ถูกบวกกลับ

- บริษัทมีผลประกอบการขาดทุน แต่จ่ายโบนัสสามารถทำได้หรือไม่

- ค่าใช้จ่ายของกรรมการถือเป็นรายจ่ายของกิจการได้ทุกตัวหรือไม่

- ประเด็นค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าน้ำมันรถ และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์พนักงานที่มักถูกสรรพากรประเมิน

- การให้สวัสดิการพนักงานอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้และไม่ถูกประเมิน

- มีอะไรบ้างในค่าใช้จ่ายในการขายและค่าใช้จ่ายในการบริหารสรรพากรมักสั่งให้บวกกลับ

- ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการขายจะต้องมีเอกสารอะไรบ้างเมื่อสรรพากรเข้าตรวจ

- รายจ่ายที่กิจการถือเป็นรายจ่าย แต่สรรพากรให้ถือเป็น สินทรัพย์ต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา

6. ประเด็น“การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี”ถูกตรวจสอบว่า เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือไม่

- ค่าใช้จ่ายในการอบรมและสัมมนา

- ค่าใช้จ่ายในการเรียนรู้ และ นันทนาการ

- ส่งพนักงานไปศึกษาต่อ

- จ้างคนพิการเข้าทำงาน

- สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกคนพิการ

7. ประเด็น “การบวกกลับ” หรือ “หักออก” ถูกต้องหรือไม่

- หลักเกณฑ์ในการปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) ที่สรรพากรยอมรับ

- มีรายจ่ายอะไรบ้างที่ถูกสั่งให้บวกกลับ

- เบี้ยปรับและเงินเพิ่มอะไรบ้างที่เป็นรายจ่ายได้ และอะไรบ้างที่ต้องบวกกลับ

- รายการบวกกลับที่กิจการมักบวกกลับไม่ครบถ้วน

8. ประเด็น “ผิดพลาด” ที่เกิดขึ้นบ่อยและมีความเสี่ยงถูกเรียกตรวจสอบ

- สรรพากรให้เพิ่มรายจ่ายต้องห้ามเพื่อเพิ่มยอดรายได้มีผลอย่างไร

- ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้เกินแต่ไม่ให้ขอคืนจะมีผลอย่างไร

- การขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างบริษัทในเครือในราคาพิเศษ

- การขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างบริษัทในเครือโดยไม่เรียกเก็บค่าตอบแทน

- การขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างบริษัทในเครือขายเท่าทุนหรือ ขาดทุน ทำได้หรือไม่

- การให้ส่วนลดมากกว่าลูกค้ารายอื่น

- ให้พนักงานทำงานให้บริษัทแม่และบริษัทในเครือ

- การตรวจสอบ stock สินค้า การสั่งซื้อ สั่งทำ สั่งผลิต

9. รายการในงบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน ระเด็นความผิดปกติที่เจ้าพนักงานประเมินตรวจพบว่าผิดพลาดได้อย่างไร

10. เทคนิคการให้ปากคำ และการตอบข้อโต้แย้งเจ้าพนักงานประเมิน

11. ถาม-ตอบปัญหา

Hours of CPD Hours of CPA
account other accountant other
0:0 0:0 0:0 0:0

Instructor

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

Location

โรงแรมสวิส โฮเต็ล
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

รถไฟฟ้าใต้ดินสถานี ห้วยขวาง
Phone :
02-694-2222
Website :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba