69 ประเด็นภาษีและการบันทึกบัญชีรายได้ - รายจ่าย ปัญหาที่นักบัญชีพบ พร้อมวิธีแก้ไข

รหัสหลักสูตร : 21/1375

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



69 ประเด็นภาษีและการบันทึกบัญชีรายได้ - รายจ่าย
ปัญหาที่นักบัญชีพบ พร้อมวีธีแก้ไข

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline


• เจาะหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้และการบันทึกบัญชีตามหลักเกณฑ์สิทธิ
• รายจ่ายทางภาษี และการบันทึกบัญชีรายจ่ายของกิจการ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยการนำรายได้มาหักค่าใช้จ่ายเพื่อคำนวณ
กำไรสุทธิโดยเกณฑ์สิทธิ์ ปัญหาในการนำรายได้มาหักค่าใช้จ่ายจะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขของมาตรา 65 ทวิ
และ 65 ตรี ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา สินค้าคงเหลือ รายจ่ายต้องห้าม แนวปฏิบัติในการเสียภาษีที่สำคัญ
พร้อมกับประเด็นการบันทึกบัญชีที่ต้องระมัดระวัง

พิเศษ 2 ต่อ จองสัมมนาตั้งแต่ 25 มิ.ย. 61 - 9 ก.ค. 61
ต่อที่ 1 เข้า 2 ลด 500 บาท
ต่อที่ 2 รับฟรี นส.ปิดบัญชีเล่มเดียว

 

วิทยากรโดย อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

หัวข้อสัมมนา

เจาะหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้และการบันทึกบัญชีตามหลักเกณฑ์สิทธิ
1. ความต่างในการรับรู้รายได้ตามหลักบัญชีและภาษีตามประมวลรัษฎากร
2. หลักเกณฑ์สำคัญการรับรู้รายได้ตามหลักเกณฑ์สิทธิ
3. ตัวอย่างสำคัญในการปฏิบัติจริงในการรับรู้รายได้ และเอกสารสำคัญต่างๆที่เกี่ยวข้อง
4. การโอนทรัพย์สิน ให้บริการ และให้กู้ยืมเงินโดยไม่คิดค่าตอบแทนหรือคิดต่ากว่าราคาตลาดโดยไม่มีเหตุสมควร
จุดแตกต่างทางบัญชีกับทางภาษีสำคัญ
5. การให้เช่าซื้อหรือขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ
6. การซื้ออสังหาริมทรัพย์ทางภาษีตามหลักเกณฑ์สำคัญตามมาตรฐานการบัญชี
7. ธุรกิจเช่าซื้อผ่อนชำระ ที่กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อมีหลักเกณฑ์ใดบ้างที่สาคัญที่นักบัญชีต้องให้ความสนใจ
เป็นพิเศษ
8. กิจการรับเหมาก่อสร้างทางภาษีต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง
9. ปัญหาที่เกี่ยวข้องการฝากขาย เมื่อมีการฝากขายสินค้าที่ยังไม่หมดจะรับรู้รายได้อย่างไรให้ถูกต้อง
10. ขายสินค้าต่ากว่าราคา Book Value
11. ปัญหาการให้เช่าสินทรัพย์ ประเด็นสาคัญต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางภาษี
12. ปัญหาจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่สอดคล้องกับทางภาษี
13. ได้รับชำระเงินก่อนการส่งมอบสินค้า ต้องรับรู้รายได้หรือไม่ และ TAX POINT ในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจะเกิด
ขึ้นเมื่อใด
14. การขายสินค้าที่มีภาระผูกพันมีเงื่อนไขหลังการขายอย่างไรให้ถูกต้องทางภาษี
15. การขายสินค้าผ่านตัวแทน จุดจำหน่าย
16. การขายสินค้าแบบผ่อนชำระ ต้องรับรู้รายได้อย่างไรให้ถูกต้อง
17. เงินค่างวดต่างๆที่มีกำหนดการชำระ
18. การขายสินค้า พร้อมติดตั้งหลังการขายต้องรับรู้รายได้อย่างไร
19. การขายสินค้าที่มีการรับประกันสินค้า
20. รายได้จากทำการตลาดต่างๆ การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ค่าคอมมิชชั่นค่านายหน้าต้องปฏิบัติอย่างไร
21. รายได้จากค่าสมาชิก รายเดือน รายปี ตลอดชีพ
22. รายได้จากเงินปันผล ที่นักบัญชีต้องปฏิบัติให้ถูกต้องทางภาษี
23. การให้บริการ จะรับรู้รายได้เมื่อใด และหลักเกณฑ์การพิจารณาที่ถูกต้องทางภาษี
24. ทางเลือกการรับรู้รายได้ของธุรกิจให้บริการ
25. การพิจารณาหลักการรับรู้รายการระหว่างลูกหนี้ กับรายได้ค้างรับ
26. การพิจารณาหลักการบันทึกการรับรู้รายการระหว่างเจ้าหนี้กับค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
27. การชำระเงินตามสัญญามีผลต่อการรับรู้รายได้อย่างไรและต้องปฏิบัติอย่างไร
28. การยกเลิกการรับรู้รายได้ลักษณะต่างๆ เอกสารสำคัญที่ต้องมีประกอบในรายการนั้นมีอะไรบ้างมีผลอย่างไร
29. รายได้จากการให้ใช้สิทธิ หรือการส่งมอบสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
30. รายได้จากการขายสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนจะต้องรับรู้รายได้อย่างไรให้ถูกต้องทางภาษี
31. รางวัลส่วนลดที่ได้จากการส่งเสริมการขายต้องรับรู้รายได้อย่างไรเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือไม่ ต้องถูก
ผู้ให้เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
32. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการขาย หรือการให้บริการมีผลกระทบต่อการรับรู้รายได้อย่างไร

รายจ่ายทางภาษี และการบันทึกบัญชีรายจ่ายของกิจการ
33. ซื้อสีทาอาคาร สำนักงานพร้อมมีบริการทาสีฟรี ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ต้องปฏิบัติอย่างไร
34. ซื้อเฟอร์นิเจอร์และต้องมีการติดตั้ง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากค่าติดตั้ง
35. การซื้อที่ดินมา แล้วต้องการปรับปรุงที่ดิน ต้องปฏิบัติอย่างไรและจะต้องรับรู้ต้นทุนเผื่อขายหรือไม่
36. ซื้อสินค้าจากบริษัทลูกมาใช้ในบริษัทแม่ และการโอนทรัพย์สินจากบริษัทลูกที่ปิดตัวลง ทรัพย์สินที่โอนมานั้น
จะคิดค่าสึกหรอค่าเสื่อมราคาได้หรือไม่อย่างไร
37. ซื้ออุปกรณ์สำรองไว้เพื่อทาการเปลี่ยนใช้งานเมื่อมีการชำรุด เสียหายต้องบันทึกบัญชีเป็นสินทรัพย์ไว้และ
คิดค่าเสื่อมราคาหรือไม่
38. ประเด็นสำคัญของค่าใช้จ่ายความแตกต่างทางหลักบัญชีและหลักภาษีที่ต้องปรับปรุงกำไรสุทธินั้นเป็นอย่างไร
39. การขายสินค้าที่มีการรับประกันหลังการขาย ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร
40. การทำลายสินค้าเสื่อมสภาพล้าสมัยทางภาษีมีวิธีปฏิบัติอย่างไร บันทึกรายจ่ายอย่างไร
41. ค่าใช้จ่ายรอบตัดบัญชี ทางภาษีต้องปฎิบัติอย่างไร
42. หลักการพิจารณา สินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบจะถือเป็นขายหรือไม่อย่างไร
43. การพิจารณารายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจการ การสร้างรายจ่ายเท็จกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
44. การหักค่าเสื่อมราคารถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 ที่นั่งทางภาษีต้องปฏิบัติอย่างไร
45. ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการส่งสินค้าไปขายต่างประเทศ หรือ ส่งสินค้าในต่างจังหวัด
46. การขายสินค้าที่มีการรับประกันหลังการขาย ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร
47. การทำลายสินค้าเสื่อมสภาพล้าสมัย มีวิธีปฏิบัติอย่างไร บันทึกรายจ่ายอย่างไร
48. ค่าใช้จ่ายรอบตัดบัญชี ทางภาษี ต้องปฎิบัติอย่างไร
49. หลักการพิจารณา สินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบจะถือเป็นขายหรือไม่อย่างไร
50. การพิจารณารายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจการ การสร้างรายจ่ายเท็จกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
51. การหักค่าเสื่อมราคารถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 ที่นั่งต้องปฏิบัติอย่างไร
52. การหักค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังผู้ซื้อ
ต้องทำอย่างไร
53. การหักค่าเสื่อมราคาการพัฒนาซอฟแวร์ใช้ในกิจการ หรือในการได้สิทธิการใช้ซอฟแวร์ต้องหักอย่างไร
54. การจำหน่ายหนี้สูญตามหลักเกณฑ์ของสรรพากรต้องปฏิบัติอย่างไร
55. อย่างไรเรียกว่ารายจ่ายส่วนตัวหรือให้โดยเสน่หาหรือที่ไม่สามารถพิสูจน์ตัวผู้รับเงินได้
56. ค่ารับรองทางบัญชีจะเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ทั้งจำนวนหรือไม่ มีวิธีการคิดอย่างไร
57. ค่ารับรองกระเช้าของขวัญปีใหม่ให้ลูกค้าลงรายจ่ายได้หรือไม่
58. ค่ารับรองพาลูกค้าไปดูคอนเสิร์ต ตีกอล์ฟ ไดร์กอล์ฟ สปา นวดแผนโบราณลงค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน
2,000 บาท ใช่หรือไม่
59. ค่ารับรองที่จ่ายไปเกิน 2,000 บาท ไม่สามารถลงรายจ่ายได้ทั้งก้อนใช่หรือไม่
60. จ่ายรับรองที่ไม่สามารถแจ้งรายละเอียดได้แต่มีการอนุมัติจากกรรมการลงรายจ่ายได้หรือไม่
61. ค่ารับรองที่ไม่ได้ระบุชื่อลูกค้าว่ารับรองใครอย่างไรลงรายจ่ายได้หรือไม่
62. การให้ลูกค้ามาใช้บริการโดยไม่สียค่าใช้จ่ายถือเป็นค่ารับรองได้หรือไม่
63. จัดนำเที่ยวให้กรรมการถือเป็นค่ารับรองหรือไม่
64. ส่งสินค้าให้ลูกค้าใช้โดยไม่ได้ทำเป็นกิจกรรมส่งเสริมการขายถือเป็นค่ารับรองใช่หรือไม่
65. การจ่ายค่าภาษีอากรเบี้ยปรับเงินเพิ่ม
- ภาษีซื้อที่ถูกเรียกเก็บแต่บริษัทไม่ขอคืนบริษัทฯจะนำไปหักเป็นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิตอนสิ้นปีได้เต็มจํานวน
หรือไม่
66. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนลงรายจ่ายได้หรือไม่
- บริษัทซื้อโปรแกรมสําเร็จรูปโดยให้บริษัทผู้ขายพัฒนาโปรแกรมให้ใช้ได้ตามที่บริษัทต้องการค่าพัฒนาโปรแกรม
ดังกล่าวถือเป็นต้นทุนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเป็นรายจ่ายได้ทั้งจํานวน
67. รายจ่ายที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการทางภาษีต้องปรับปรุงในการยื่นแบบ ภ.ง.ด. 50 อย่างไร
68. การบริจาคที่ลงรายจ่ายได้สองเท่าทางภาษีมีกรณีใดบ้าง
69. รายจ่ายที่ไม่ได้ตั้งค่าใช้จ่ายจะนำไปลงรายจ่ายในรอบบัญชีถัดไปได้หรือไม่


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

สถานที่

โรงแรมแมนดาริน
662 ถนน พระราม 4 แขวง มหาพฤฒาราม เขต บางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ :
02 238 0230
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีสามย่าน ทางออกที่ 1 (เดิน 200 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba