Update ล่าสุด ปัญหาการจัดทำบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 7 ฉบับ

รหัสหลักสูตร : 23/4093

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 1,284 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 1,712 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้อสัมมนา

1. การนำเสนองบการเงิน

1.1งบการเงินฉบับสมบูรณ์ต้องมีองค์ประกอบใดบ้าง ตามหลักเกณฑ์ใหม่

1.2 กิจการต้องจัดทำงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จหรือไม่ มีหลักเกณฑ์อย่างไร

1.3 หากส่วนของเจ้าของไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้องจัดทำงบแสดงการเปลี่ยนส่วนของเจ้าของหรือไม่

1.4 งบแสดงฐานะการเงินจะต้องจัดแสดงต้องมีหลักเกณฑ์อย่างไร

1.5 การจัดทำงบกำไรขาดทุนเลือกรูปแบบการจัดทำได้หรือไม่ และรูปแบบใดเหมาะสมกับกิจการ

1.6 หมายเหตุประกอบงบการเงิน ควรเปิดเผยข้อมูลใดบ้าง และผลกระทบในการเปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วน

2. งบกระแสเงินสด

2.1ความจำเป็นและความสำคัญในการจัดทำงบกระแสเงินสด และจะบังคับใช้กับกิจการใดบ้าง

2.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายถึงอะไรบ้าง และมีอะไรบ้างที่ต้องจัดทำในงบกระแสเงินสด

2.3 กระแสเงินสดเข้าและออกจะต้องแยกกิจกรรมอย่างไรในงบกระแสเงินสด

2.4 ความแตกต่างของงบกระแสเงินสดวิธีทางตรงและวิธีทางอ้อม กิจการจะเลือกทำวิธีใด

2.5 งบกระแสเงินสดต้องจัดทำทุกกิจการหรือไม่

3. ภาษีเงินได้

3.1 เมื่อไรที่กิจการจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานภาษีเงินได้

3.2 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะเกิดขึ้นเมื่อใดและบันทึกบัญชีอย่างไร

3.3 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะเกิดขึ้นเมื่อใดและบันทึกบัญชีอย่างไร

3.4 ผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีมีแนวปฏิบัติอย่างไรตามมาตรฐานการบัญชี

3.5 ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีมีแนวปฏิบัติอย่างไรตามมาตรฐานการบัญชี

4. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

4.1 ราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

4.2 ต้นทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประเด็นการบันทึกบัญชี

4.3 ต้นทุนเริ่มแรกและต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังมีหลักเกณฑ์อย่างไรและปัญหาการบันทึกบัญชี

4.4 การวัดมูลค่าและการตีราคาใหม่ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หลักเกณฑ์ที่สำคัญและการบันทึกบัญชี

4.5 ปัญหาการหักค่าเสื่อมราคาและการด้อยค่าสินทรัพย์จะต้องปฏิบัติอย่างไร

5. รายได้

5.1 การรับรู้และการวัดมูลค่าของรายได้

5.2 กิจการขายสินค้าและให้บริการเงื่อนไขในการรับรู้รายได้และการบันทึกบัญชี

5.3 การรับรู้รายได้ของค่าสิทธิ ดอกเบี้ย และเงินปันผลหลักเกณฑ์ที่สำคัญ

5.4 การเปิดเผยข้อมูลของรายได้

6. ผลประโยชน์พนักงาน

6.1 ความหมายและประเภทของผลประโยชน์พนักงาน

6.2 ผลประโยชน์ระยะสั้นสำหรับพนักงาน (Short-term employee benefits) และการบันทึกบัญชี

6.3 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน (Post-employment benefits) และการบันทึกบัญชี

6.4 ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน (Other long-term employee benefits) และการบันทึกบัญชี

6.5 ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง (Termination benefits) และการบันทึกบัญชี

6.6 การเปิดเผยข้อมูลผลประโยชน์พนักงาน

7. อัตราแลกเปลี่ยน

7.1 ความหมายของผลต่างอัตราแลกเปลี่ยน และรายการที่เป็นตัวเงินกับรายการไม่เป็นตัวเงิน

7.2 การรับรู้ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนผลกระทบต่อการบันทึกบัญชี

7.3 การเปลี่ยนแปลงในสกุลเงินที่ใช้ในการดำเนินงานหลักเกณฑ์ที่สำคัญ

7.4 การแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบการเงินหลักเกณฑ์และเงื่อนไข

7.5 ปัญหาการแปลงค่าของหน่วยงานต่างประเทศ 43. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

8.คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์วิทยา เอกวิรุฬห์พร

สถานที่

ไพร์ม โฮเท็ล เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba