หลักเกณฑ์และวิธีการเสียภาษีสินทรัพย์ดิจิทัล (หลักสูตรใหม่ปี2561)

รหัสหลักสูตร : 21/1683

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


หลักเกณฑ์และวิธีการเสียภาษีสินทรัพย์ดิจิทัล

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

• ด่วน!! ประกาศใช้กฎหมายควบคุมและเก็บภาษีจาก “สินทรัพย์ดิจิทัล” บังคับใช้ พฤษภาคม 2561
• สินทรัพย์ดิจิทัลคืออะไร? ใครบ้างที่ต้องเสียภาษี?
• สินทรัพย์ดิจิทัลที่นํามาใช้ในการประกอบธุรกิจและการกระทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจ
• โทษหนักหากผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลไม่ได้รับอนุญาตลงทะเบียนกับก.ล.ต.
• เก็บภาษี Cryptocurrency กับภาระภาษีตามหลักเกณฑ์ใหม่
- โทเคนดิจิทัล
- สินทรัพย์ในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
- ธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
• แนวการตรวจสอบและจัดเก็บภาษีจากสินทรัพย์ดิจิทัลของกรมสรรพากร

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

1. นิยามของสินทรัพย์ดิจิทัลตามประมวลรัษฎากรและธุรกิจที่เข้าข่ายตามหลักเกณฑ์ พ.ร.ก.การประกอบธุรกิจ
- สินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561
-คริปโทเคอร์เรนซี “Cryptocurrency”
-ธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
-โทเคนดิจิทัล
-สินทรัพย์ในรูปหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อื่นใดที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกำหนด
2. การแก้ไขเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับเงินได้เนื่องมาจากสินทรัพย์ดิจิทัล
-มาตรา 40(4)(ซ) เงินส่วนแบ่งของกำไรหรือผลประโยชน์อื่นใดที่ได้จากการถือหรือครองโทเคนดิจิทัล
-มาตรา 40(4)(ฌ) ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการโอนคริปโทเคอร์เรนซีหรือโทเคนดิจิทัล ทั้งนี้ เฉพาะซึ่งตีราคาเป็น
เงินได้เกินกว่าที่ลงทุน
3. การออกและเสนอขาย ICO ที่ถูกต้องตามกฎหมายมีหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และภาระภาษีอย่างไร
4. หลักเกณฑ์การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้เนื่องมาจากสินทรัพย์ดิจิทัล
-เงินได้จากสินทรัพย์ดิจิทัลกรณีใดบ้างที่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
-อัตราภาษีที่ต้องถูกหัก
-ถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้แล้วสิ้นปี สามารถเลือกนำมารวม/ไม่รวมกับเงินได้ประเภทอื่นได้หรือไม่
5. สรุปภาระภาษีทั้งระบบของสินทรัพย์ดิจิทัล การกำกับ ติดตามและจัดเก็บภาษีของสรรพากร
6. แนวการตรวจสอบและจัดเก็บภาษีจากสินทรัพย์ดิจิทัลของกรมสรรพากร
7. มาตรการป้องกันการโกงและฟอกเงิน หรือใช้สินทรัพย์ดิจิทัลในทางไม่สุจริต
8. อาชญากรรมเกี่ยวกับภาษี (Tax Crimes Related to Direct Taxes and Indirect Taxes)
-การกระทำที่จะเป็นความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
-กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินหมายถึงอะไร การกระทำอย่างไรแบบไหน
ถือว่าเป็นการฟอกเงิน
-อย่างไร? คือพฤติกรรมปกปิดหรือซ่อนเร้นทรัพย์สินในทางภาษีอันจะส่อให้เห็นว่าอาจเป็นความผิดฐาน
ฟอกเงินได้
9. ใครบ้างที่ต้องรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
-นิติบุคคลฟอกเงินได้ด้วยหรือไม่
-นักบัญชี ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชี กรรมการบริษัทและผู้บริหาร ต้องร่วมรับผิดด้วยหรือไม่
10.โทษจากการกระทำความผิดที่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินมี
อย่างไรบ้าง ร้ายแรงแค่ไหน
11.อำนาจในการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของสรรพากร รวมถึงการใช้อำนาจอื่นหากเข้าข่ายการฟอกเงินมีได้ในกรณี
ใดบ้าง
-ผู้ที่จะถูกสรรพากรยึดหรืออายัดทรัพย์สินมีสิทธิโต้แย้งคัดค้านได้แค่ไหน เพียงไร
12.คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี




นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต
566 ถ.เพลินจิต แขวง ลุมพินี เขต ปทุมวัน กทม.
โทรศัพท์ :
02 2305 6000
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba