เจาะประเด็นปัญหาสำคัญผลกระทบต่อการบันทึกบัญชีเมื่อใช้สิทธิยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มและความผิดทางอาญา

รหัสหลักสูตร : 21/2393

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

1. ประเด็นสำคัญในพระราชบัญญัติยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มภาษีอากร และความรับผิดทางอาญา เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2562

- คุณสมบัติของผู้ประกอบการที่สามารถใช้สิทธิ

- ประเภทของภาษีอากรตามที่กำหนดใน พ.ร.บ

- หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการใช้สิทธิ

- สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ

- หลักการและเหตุผลที่ประกาศใช้ พ.ร.บ ฉบับนี้

2. ความเสี่ยงที่ไม่เข้าร่วมมาตรการภาษีบัญชีเดียว

3. การจัดทำบัญชีชุดเดียวตามแนวทางของกรมสรรพากรและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

- การจัดทำบัญชีและงบการเงินตาม พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543

- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

4. ประโยชน์ของการจัดทำบัญชีชุดเดียว

- ทำให้ทราบฐานะการเงินและผลการดำเนินงานที่แท้จริง

- นำข้อมูลมาใช้วางแผนทางธุรกิจ

- สร้างความน่าเชื่อถือต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)

5. สิ่งที่ผู้ประกอบการและนักบัญชีต้องเตรียมพร้อมเมื่อต้องจัดทำบัญชีชุดเดียว

- จัดเตรียมบุคลากรทางการบัญชี

- จัดทำเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี

- บันทึกบัญชีให้ครบถ้วนและถูกต้อง

- จัดทำงบการเงินให้มีรายการถูกต้องตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

- ปิดงบให้ทันตามกำหนดเวลา

- งบการเงินต้องผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)

- เก็บรักษาเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีตามที่สรรพากรกำหนด

6. สิ่งสําคัญที่นักบัญชีต้องระมัดระวังในการปรับปรุงบัญชีสินค้าคงเหลือ

- มีสินค้าคงเหลือแต่ไม่ได้บันทึกบัญชี

- ปรับปรุงสินค้าขาดหรือเกินจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ

- ปรับปรุงสินค้าชํารุดเสียหายเสื่อมสภาพล้าสมัย

- ปรับปรุงสินค้าสูญหาย

- การปรับปรุงของเสียและเศษวัสดุ

7. ประเด็นใหญ่ที่สําคัญที่นักบัญชีต้องไม่พลาดกับการปรับปรุงบัญชีสินทรัพย์

- ไม่ได้บันทึกบัญชีสินทรัพย์

- บันทึกบัญชีสินทรัพย์ไม่ครบถ้วน

- ไม่ได้หักค่าเสื่อมราคาหรือหักค่าเสื่อมราคาไม่ครบถ้วน

- ไม่ได้บันทึกการให้กู้ยืมเงินจากกรรมการพนักงานหรือบริษัทในเครือ

- ไม่ได้คิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมและไม่ได้บันทึกบัญชี

- บันทึกเงินกู้ยืมแต่เสียภาษีไม่ครบถ้วน

8. การปรับปรุงหนี้สินต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี

- ไม่ได้บันทึกบัญชีการให้กู้ยืมเงิน

- บันทึกการให้กู้ยืมเงินแต่ไม่ได้คิดดอกเบี้ย

- ไม่ได้เป็นกู้ยืมเงินจริง

9. ประเด็นความแตกต่างระหว่างรายการทางบัญชีและรายการทางภาษีที่นักบัญชีต้องเข้าใจ

- การตัดรายการทรัพย์สินถาวรออกจากบัญชี

- การตัดจำหน่ายสินค้าเสียหายออกจากบัญชี

- การตัดจำหน่ายสินค้าสูญหายออกจากบัญชี

- การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและการตัดหนี้สูญ

- การบันทึกรายได้ทางบัญชีกับยอดขายในรายงานภาษีขาย (กรณีส่งออก)

- ภาษีเงินได้นิติบุคคลถูกหัก ณ ที่จ่าย ที่กิจการไม่ได้ใช้สิทธิเกิน 1 ปี

- กิจการใช้ขาดทุนสะสมในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลปฏิบัติอย่างไรในทางบัญชี

10. หลักการในการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี พร้อมตัวอย่างกรณีศึกษา

- การแก้ไขงบการเงิน

- กรณียอดคงค้างเดิมที่ไม่มีรายละเอียดประกอบ

- กรณีการทบทวนการคิดค่าเสื่อมราคา

- รายการเกี่ยวกับเงินสดและเงินกู้ยืม

11. ข้อสังเกตทั่วไปสำหรับจุดตรวจสอบที่ผิดปกติในงบการเงิน

12. การยื่นแบบ ภ.ง.ด.1, 2, 3, 50,51,53 ภ.พ.30, ภ.ธ.40 และอากรแสตมป์เพิ่มเติมเมื่อมีการปรับปรุงบัญชีนักบัญชีจะต้องปฏิบัติอย่างไร

13. ความร่วมมือระหว่างกรมสรรพากรกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ามีผลกระทบอย่างไรต่อผู้ประกอบการ

14. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba