กลยุทธ์ป้องกันความเสี่ยงด้านกฎหมายแรงงาน บัญชี ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย พนักงาน ของนักบัญชีและฝ่ายบุคคล: ภาคปฏิบัติ**เลื่อน**โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่

รหัสหลักสูตร : 21/8030

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 10,700 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 12,840 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


กลยุทธ์ป้องกันความเสี่ยงด้านกฎหมายแรงงาน
บัญชี ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย พนักงาน
ของนักบัญชีและฝ่ายบุคคล: ภาคปฏิบัติ

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

 

ประโยชน์ที่ผู้เข้าสัมมนาจะได้รับ
• ลดความเสี่ยงด้านการตรวจสอบทั้งด้านกฎหมายแรงงาน ภาษีสรรพากร และด้านบัญชี
• เข้าใจความแตกต่างด้านสัญญาและสามารถวิเคราะห์ข้อดี - ข้อเสียของสัญญาได้
• ลดปัญหาการตีความด้านสวัสดิการพนักงานเพื่อการตัดจ่ายทางบัญชี
• หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับผู้จัดการฝ่ายบุคคล HR นักบัญชี ผู้บริหารและผู้ที่สนใจทั่วไป

 

วิทยากรโดย รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว

หัวข้อสัมมนา

1. ประเด็นความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยง
1. ความเสี่ยงด้านการวางแผนการทำสัญญาจ้างบุคลากรทั้งคนไทยและต่างด้าว
2. ความเสี่ยงด้านความชัดเจนแม่นยำและปฏิบัติได้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงานทั้งระบบ
3. ความเสี่ยงด้านการจัดทำ “สวัสดิการ” (Welfare) พนักงานที่อาจเกิดปัญหาเรื่อง
a. สภาพการจ้างงานที่บังคับนายจ้างเลิกไม่ได้
b. ปัญหาความหมายคำว่า “ค่าจ้าง” ตามกฎหมาย
c. ปัญหาการเป็นประโยชน์เพิ่มของพนักงานในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
4. ความเสี่ยงด้านการจัดทำเอกสารตัดรายจ่ายทางบัญชีการเงิน (Financial Accounting)
a. ผลกระทบต่อการ “บวกกลับ” ในบัญชีภาษีอากร (Tax Accounting)
b. การยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ตามรอบระยะเวลาบัญชี

2. การร่างสัญญาจ้างแรงงาน ข้อบังคับ สวัสดิการพนักงาน การตีความ แบบครอบคลุม 4 ด้าน
1. แบบฟอร์มสัญญาจ้างแรงงานทั้งระบบ (IN - SOURCE) และสัญญาจจ้างบริการ (OUT - SOURCE)
2. การจัดทำและปรับปรุงข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานพนักงานตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ฉบับใหม่ล่าสุด (พ.ศ.2562)
3. การวางแผนเกี่ยวกับ “สวัสดิการ” (Welfare) พนักงาน ทั้งกรณีกฎหมายแรงงานบังคับนายจ้าง และกรณีนายจ้าง
สมัครใจให้ลูกจ้าง
a. การกรอกแบบรายงานสภาพการจ้างตามมาตรา115/1 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ( แก้ไขเพิ่มเติมในปี
พ.ศ.2551) มิฉะนั้นต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท
b. “คู่มือการจัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับพนักงาน”
4. ปัญหา “การตีความ” สวัสดิการพนักงานเพื่อการตัดรายจ่ายในทางบัญชีการเงินและบัญชีภาษีอากร
c. การสมทบของลูกจ้างและสมทบฝ่ายนายจ้างในกองทุนประกันสังคม (The Social Fund)
d. การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายพนักงานและประโยชน์เพิ่ม (สวัสดิการ) เพื่อการกรอกแบบ ลย.01 / ภ.ง.ด.1
/ภ.ง.ด.1ก และการยื่นแบบฯ ปลายปี ภ.ง.ด.91

3. การวิเคราะห์ “สัญญาจ้างแรงงาน” และ “สัญญาจ้างบริการ”
1. ข้อแตกต่างระหว่าง “สัญญาจ้างแรงงาน” กับ “สัญญาจ้างบริการ”
2. ข้อแตกต่างระหว่าง “สัญญาจ้างแรงงานคนไทย” กับ “สัญญาจ้างแรงงานต่างด้าว”
3. ข้อแตกต่างระหว่าง “ลูกจ้างรายวัน” กับ “ลูกจ้างรายเดือน”
4. ข้อแตกต่างระหว่าง “สวัสดิการแรงงานภาคบังคับ” กับ “สวัสดิการแรงงานภาคสมัครใจ”
5. ช้อแตกต่างระหว่าง “สัญญาจ้างเหมางาน” กับ “สัญญาจ้างเหมาค่าแรง”

4. การวิเคราะห์ “ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน” และ “สภาพการจ้างงาน”
1. วิธีการจัดทำและปรับปรุงแก้ไข “ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน”
2. ข้อกำหนดต่างๆ ที่กฎหมายแรงงานบังคับให้ “ต้องมี” ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
3. ปัญหาการบังคับใช้เมื่อข้อกำหนดในสัญญาจ้างแรงงานขัดต่อกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
4. ถ้านายจ้างมีสถานประกอบการหลายแห่ง/หลายจังหวัด จะต้องจัดทำข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานแยกกันหรือไม่
5. กฎหมายคุ้มครองแรงงานที่แก้ไขใหม่ในปี พ.ศ.2560 และ พ.ศ.2562 มีเรื่องใดบ้าง เช่น การเกษียณอายุ/
การเลิกจ้าง/การลากิจ/การลาคลอด/การจ่ายค่าจ้างค้างชำระและการลาป่วย

5. การวางแผนเกี่ยวกับ “สวัสดิการ” (Welfare) พนักงานที่ผันแปรไปตามจำนวนพนักงานรวมทั้ง
สภาพการจ้างขององค์กร

1. การผันแปรตามจำนวนลูกจ้างขององค์กรมีผลต่อการจัดทำระเบียบข้อบังคับและระเบียบสวัสดิการอย่างไร
a. กรณีมีลูกจ้าง 1 คน
b. กรณีมีลูกจ้างครบ 10 คน
c. กรณีมีลูกจ้างครบ 20 คน
d. กรณีมีลูกจ้างครบ 50-100 คน
e. กรณีมีลูกจ้างเกิน 100 คนขึ้นไป
2. การออกแบบรายงาน “สภาพการจ้าง” ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 และ แก้ไขเพิ่มเติมในปี พ.ศ.2551
3. คู่มือการจัดทำประมวล “จริยธรรม” สำหรับพนักงานมีความสำคัญอย่างไร

6. ปัญหา “การตีความ” สวัสดิการพนักงานเพื่อรองรับการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี เจ้าพนักงานประกันสังคม
และเจ้าพนักงานประเมินกรมสรรพากร

1. ปัญหาคำว่า “ค่าจ้าง” ตามกฎหมายแรงงาน
2. ปัญหาคำว่า “สวัสดิการ” ตามกฎหมายแรงงาน
3. ปัญหาคำว่า “ประโยชน์เพิ่ม” ตามกฎหมายภาษีอากร
4. ปัญหาคำว่า “เลือกปฏิบัติ” ซึ่งกลายเป็นรายจ่ายต้องห้าม (บวกกลับ) ตามหลักบัญชีภาษีอากร (Tax Accounting)
5. ปัญหาการกรอกแบบแสดงรายการเพื่อลดหย่อนภาษีของพนักงาน “ลย.01”
6. ปัญหาการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายพนักงาน (ภ.ง.ด.1/ภ.ง.ด.1ก.)
7. ตัวอย่าง : สวัสดิการพนักงานที่้ต้องมีการตีความ
• 7.1) เบี้ยเลี้ยง/ค่าพาหนะ/และค่าโรงแรมที่พัก
• 7.2) ค่าอาหารกลางวัน/เครื่องดื่ม(น้ำชา/กาแฟ)
• 7.3) เงินช่วยการสมรส/ของขวัญวันเกิด/ค่าทำศพ
• 7.4) ทุนการศึกษาพนักงาน
• 7.5) ช่วยเหลือค่าน้ำมันรถส่วนตัว/ค่าโทรศัพทท์/ค่าเช่าบ้าน
• 7.6) เงินโบนัส
• 7.7) ค่าคอมมิชชั่น
• 7.8) เบี้ยขยัน
• 7.9) รางวัลนำเที่ยว

7. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว

สถานที่

โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส
(ติดห้างมาบุญครองเซ็นเตอร์) ถ.พญาไท
โทรศัพท์ :
02-216-3700
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba