เจาะประเด็นความผิดพลาดในการจัดทำบัญชีพร้อมแนวปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ถูกต้อง

รหัสหลักสูตร : 21/2251

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

1. มาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นประเด็นที่สำคัญต่างๆที่นักบัญชี

ควรทราบ

- การประมาณการหนี้สินตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37

- หลักเกณฑ์การรับรู้รายการสินทรัพย์และหนี้สิน

- กรอบแนวคิดเกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สิน

- หลักเกณฑ์การบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามแนวทางการพิจารณาการด้อยค่าของลูกหนี้ตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน

ฉบับที่ 9 เครื่องมือทางการเงิน

- การพิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของกิจการที่บันทึกตามมาตรฐานรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

- การบันทึกหนี้สูญให้ถูกต้องตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน

- การตั้งสำรองเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจะมีการบังคับให้ทำหรือไม่และมีหลักเกณฑ์อย่างไรจึงจะตัดบัญชีหนี้สูญได้

- กรณีที่เจ้าหนี้การค้าและลูกหนี้การค้าเป็นรายเดียวกันสามารถนำมาหักกลบเพื่อแสดงรายการสุทธิได้หรือไม่

2. มาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือที่สำคัญและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

- มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 สินค้าคงเหลือ

- เอกสารที่ต้องจัดทำในระบบสินค้าคงเหลือที่ถูกต้องและกระบวนการควบคุมสินค้าคงเหลือ

- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือในอุตสาหกรรม

- การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือและการจัดทำบัญชีสินค้าให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของมาตรฐานการบัญชี

- สินค้าคงเหลือเกินกว่า Stock Card จะต้องดำเนินการอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี

- สินค้าคงเหลือน้อยกว่า Stock Card จะต้องดำเนินการอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี

- การตกรุ่น ล้าสมัยนำสินค้าไปส่งเสริมการขายแนวปฏิบัติในการบันทึกบัญชี

- สินค้าที่ตกรุ่น ล้าสมัย ขายไม่ออกนำไปทดลองใช้นำไปเป็นตัวอย่างจะปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง

- สินค้าเสียหายจะปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง

- การทำลายสินค้าและวัตถุดิบแนวปฎิบัติและวิธีการบันทึกบัญชี

- ปัญหาการขายสินค้าควรจะบันทึกบัญชีอย่างไร เช่น มีสินค้ามากกว่า 1 ชนิดอยู่ในแพ็คเดียวกัน

- กรณีที่บริษัทมียอดขายสินค้าคงเหลือตามบัญชีแต่ในความจริงไม่มีสินค้าคงเหลืออยู่แล้วซึ่งเกิดจากการทำบัญชีผิดพลาดของปีก่อน

ควรจะปรับปรุงอย่างไรจึงจะถูกต้อง

3. มาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับที่ดินอาคารและอุปกรณ์ที่สำคัญและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

- มาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้องฉบับที่16

- สินทรัพย์ถาวรมีหลักเกณฑ์การรับรู้เริ่มแรกและภายหลังอย่างไร

- หลักเกณฑ์การตีราคาทรัพย์สินใหม่

- วิธีการบันทึกบัญชีเมื่อมีการตีราคาใหม่ และ ข้อควรระวัง

- การด้อยค่าของสินทรัพย์ที่เป็นรายการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

4. มาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับต้นทุนการกู้ยืมที่สำคัญและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

- ดอกเบี้ยกับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23

- ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมธนาคารนำมารวมเป็นต้นทุนของสินค้าได้หรือไม่

- ต้นทุนการกู้ยืมถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีหรือไม่ต้นทุนการกู้ยืม เช่นดอกเบี้ยที่อนุญาตให้รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์

- การเริ่มต้นและสิ้นสุดการรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์

- ข้อดีและข้อเสียของการบันทึกดอกเบี้ยเป็นสินทรัพย์

5. มาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 และแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

- ผลกระทบทางบัญชีที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์พนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19

6. มาตรฐานการรายงานทางการเงินเกี่ยวกับการรับรู้รายได้ที่สำคัญและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

- มาตรฐานการรางงานทางการเงินฉบับที่ 15 รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า

- หลักเกณฑ์ที่สำคัญของการรับรู้รายได้

- การรับรู้รายได้ของธุรกิจขายสินค้า

- การรับรู้รายได้ของธุรกิจให้บริการ

- ปัญหาการรับรับรายได้ที่ต้องระมัดระวังและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

7. มาตรฐานการรายงานทางการเงินเกี่ยวกับสัญญาเช่าและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง

- ธุรกิจเช่าซื้อ ผ่อนชำระ ลีสซิ่ง จะรับรู้รายได้อย่างไรและประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง

8. การเปลี่ยนแปลงทางการบัญชีและประเด็นในการนำเสนองบการเงิน

- นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงทางบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8

- การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี

- ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการประมาณการและแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง

- เหตุการณ์ภายหลังวันที่รอบระยะเวลารายงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10

9. ประเด็นที่ผิดพลาดบ่อยๆในการจัดทำบัญชีและงบการเงินพร้อมวิธีแก้ไขปัญหาให้ถูกต้อง

- งบการเงินรูปแบบใหม่จะต้องปฏิบัติอย่างไร

- ส่วนประกอบของงบการเงินและงบการเงินที่ธุรกิจต้องจัดทำ

- หลักเกณฑ์ เงื่อนไขในการจัดทำงบการเงิน

- งบดุลและความแตกต่างรายการหมุนเวียนกับรายการไม่หมุนเวียน

- รายการที่ต้องแสดงจำนวนเงินในงบดุล

- งบกำไรขาดทุนและการรับรู้รายได้ค่าใช้จ่าย

- รายการที่ต้องแสดงจำนวนเงินในงบกำไรขาดทุน

- รูปแบบงบกำไรขาดทุนจำแนกค่าใช้จ่ายตามหน้าที่และจำแนกค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

- งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของและงบแสดงการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย

- ความสำคัญของงบกระแสเงินสด

- หมายเหตุประกอบงบการเงินที่ต้องนำเสนอและเปิดเผยข้อมูล

- งบการเงินของสาขาต่างประเทศแสดงรายการเป็นเงินตราต่างประเทศได้หรือไม่ โดยไม่แสดงเป็นเงินบาท

- กรณีที่ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนรายได้รวมเกิน 30 ล้านบาทแต่ในปีถัด มามีรายได้ไม่ถึง 30 ล้านบาท งบการเงินของกิจการต้อง

มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบหรือไม่และจะต้องปฏิบัติอย่างไร

- ดอกเบี้ยรับ เงินทดรองจ่ายจะแสดงไว้ในงบการเงินอย่างไร

- รายการต่อไปนี้สามารถนำมาหักกลบลบกันได้หรือไม่

- ลูกหนี้กรรมการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหนี้กรรมการ

- ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้ส่วนเสียกับส่วนแบ่งขาดทุน

- กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนกับขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

- เงินฝากประจำที่นำไปคํ้าประกันเพื่อให้ธนาคารออกหนังสือคํ้าประกันไฟฟ้าหรือประมูลงานต้องแสดงรายการดังกล่าวไว้ในส่วนใด

จะแสดงรายการต่อไปนี้ในงบการเงินอย่างไร

- เงินฝากประจำและรายการเทียบเท่าเงินสด

- ถ้ารายการสินทรัพย์อื่นมี 2 รายการซึ่งแต่ละรายการมีมูลค่ามากต้องแยกแสดงต่างหากจากกันหรือแสดงเป็นทรัพย์สินอื่น

รายการเดียวแล้วเปิดเผยรายระเอียดในหมายเหตุ

- แนวทางแก้ไขความผิดที่เกิดขึ้นในปีก่อนและวิธีการปรับปรุงงบการเงินให้ถูกต้องในปีปัจจุบัน

- ปัญหาที่มักเกิดขึ้นบ่อยๆในการจัดทำงบการเงิน

- การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีหากผิดพลาดคลาดเคลื่อนจะมีผลกระทบต่อผู้ทำบัญชีอย่างไร

- หากมีการเปลี่ยนแปลงทางบัญชีและมาตรฐานการบัญชีจะต้องปฏิบัติ

10. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

ผศ.ดร.สมชาย เลิศภิรมย์สุข

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ :
02-641-1500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba