พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (รุ่นที่ 36)

รหัสหลักสูตร : 21/3522.1

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline



“22 หน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 พ.ศ.2563” มีความหมายว่าอย่างไร และต้องปฏิบัติอย่างไร?
ประเด็นปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้น “การเก็บรวบรวม การใช้การเปิดเผยข้อมูล “ส่วนบุคคล”
และสิทธิของเจ้าของ
- 22 หน่วยงานและกิจการ ตามพระราชกฤษฏีกากําหนดหน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 ให้ใช้บังคับ 27 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
- การเผยแพร่ข้อมูลลูกค้า หรือขายข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
- การขายรายชื่อข้อมูลส่วนบุคคลเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติฉบับนี้หรือไม
- ข้อควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลตาม พระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคลและผู้ประมวล
ผลข้อมูล
- ประเด็นการใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องปฏิบัติอย่างไร ?
- ประเด็นเกี่ยวกับ “ลูกจ้าง” ที่ส่งผลกระทบ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ที่นายจ้าง
และ HR ต้องทราบ
- กรณีการจ่ายชดเชยค่าสินไหมทดแทน จะต้องปฏิบัติอย่างไร

วิทยากรโดย อาจารย์ธนินท์รัฐ เหลืองถาวรพจน์ และ  อาจารย์ยลพรรณ สีตะระโส

หัวข้อสัมมนา

1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

2. “นิยาม” และความหมาย ของ “ข้อมูลส่วนบุคคล” “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” และ “เจ้าของข้อมูล”

- ขอบเขตของข้อมูลส่วนบุคคล
- อะไร คือ “ข้อมูลส่วนบุคคล” ที่จะได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมายฉบับนี้
- ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลมีอำนาจในการจัดการอย่างไร
- สิทธิของเจ้าของข้อมูลสามารถมอบให้ทายาทได้หรือไม่

3. การเก็บรวบรวม ใช้เปิดเผย แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือกระทำการใดๆ ต่อข้อมูล ส่วนบุคคล
- การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องปฏิบัติอย่างไร ?
- ประเด็นการแจ้งเตือน แจ้งให้ทราบแก่เจ้าของข้อมูล จะต้องได้รับการยินยอมหรือไม่และจะต้องแจ้ง “ก่อน หรือ ขณะเก็บข้อมูล”
- รายละเอียดอะไรบ้าง? ที่จะต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบ
- การให้ความยินยอมการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล และมีกรณีใดบ้างที่ไม่ต้องแจ้งและไม่ต้องขอ
ความยินยอม จากเจ้าของข้อมูล
- การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่ จากเจ้าของข้อมูล สามารถทำได้หรือไม่
- ข้อมูลส่วนบุคคลประเภทใดบ้าง? ที่ไม่สามารถเก็บรวบรวม ข้อมูลได้
- การเก็บรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับยกเว้น “ไม่ต้อง” ขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล
- ข้อห้ามอะไรบ้าง ? ที่ไม่ให้เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งไม่ได้รับความยินยอมโดยชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูล
- การขายข้อมูลส่วนบุคคล จะมีความผิดตาม พ.ร.บ.ฉบับนี้ หรือไม่
- วิธีการให้ความยินยอม จะปฏิบัติอย่างไร? ไม่ให้มีปัญหาภายหลัง
- ระยะเวลาในการให้ความยินยอม

4. ประเด็นการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล เกี่ยวกับ ความสามารถของบุคคลธรรมดาจะต้องทำอย่างไร ?
- ผู้เยาว์หรือบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
- คนไร้ความสามารถ
- คนเสมือนไร้ความสามารถ

5. ประเด็นการใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องปฏิบัติอย่างไร ?
- กรณีการส่งข้อมูลส่วนบุคคลไปต่างประเทศ
- การใช้หรือเปิดเผยข้อมูลจะต้องได้รับความยินยอม จากเจ้าของข้อมูลอย่างไร?
- กรณีการส่งข้อมูลส่วนบุคคลไปยังกิจการในเครือเดียวกัน เครือธุรกิจเดียวกัน หรือกิจการอื่น
- หน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่อยู่ในข่ายของกฎหมาย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิของเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิอย่างไรบ้าง?
- สิทธิการขอเข้าถึงและขอรับสำเนา
- การตรวจสอบข้อมูลของเจ้าของข้อมูล
- การตรวจสอบการนำข้อมูลไปใช้
- มาตรการด้านความปลอดภัยและการละเมิดข้อมูล ส่วนบุคคล
- สิทธิคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูล กรณีใด้บ้าง ?
- สิทธิให้ดำเนินการลบหรือทำลายข้อมูล ในกรณีใดบ้าง

6. ประเด็นเกี่ยวกับ “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” ตามพระราช บัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
- ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล คือใคร สำคัญอย่างไร ?
- บทบาท หน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล

7. ประเด็นเกี่ยวกับ “ลูกจ้าง” ที่ส่งผลกระทบตาม พระราชบัญญัติ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ที่นายจ้างและHR ต้องทราบ
- ข้อมูลของพนักงานลูกจ้างอะไรบ้าง? ที่อยู่ในความคุ้มครอง ของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ที่นายจ้างต้องทราบและระมัดระวัง
- ข้อมูลลูกจ้าง ที่เขียนไว้ในใบสมัครงาน หรือแจ้งให้นายจ้าง ทราบ ในวันสมัครงาน มีขอบเขตอย่างไร?

8. การขอข้อมูลส่วนบุคคลจากหน่วยงานอื่น นายจ้างจะทำได้เพียงใด

9. ความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และบทลงโทษ

- การจ่ายค่าสินไหมทดแทน
- โทษจำคุกและปรับ
- กรณีทำให้เกิดความเสียหาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชังฯ

 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ยลพรรณ สีตะระโส
อาจารย์ธนินท์รัฐ เหลืองถาวรพจน์

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล บางนา
333 ถ.ศรีนครินทร์ แขวง หนองบอน เขต ประเวศ กทม.
โทรศัพท์ :
02-3660505
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีศรีอุดม ทางออกที่ 2 (ห่างจากสถานี 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba