ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

รหัสหลักสูตร : 21/3533

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 

 

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

หัวข้อสัมมนา

1.ทำไมต้องคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

2.การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องดำเนินการเมื่อใดและต้องปฏิบัติอย่างไร?

3.กรณีไม่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจะได้รับผลกระทบอย่างไร

4.22 หน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุมไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

5.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

  • ข้อมูลส่วนบุคคลและเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
  • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
  • ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
  • เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

6.ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเต็มรูปแบบ

7.กรณีการจ่ายชดเชยค่าสินไหมทดแทนมีจำนวนมากน้อยเพียงใด

8.บทลงโทษ : โทษทางอาญา และโทษทางปกครอง แตกต่างกันอย่างไร

ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับบุคคลที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

  1. หน่วนงานใดต้องคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  2. บุคคลใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  3. เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลคือใครมีสิทธิอย่างไรบ้าง
  4. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร มีหน้าที่อย่างไรบ้าง
  5. ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร มีหน้าที่อย่างไรบ้าง
  6. เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร มีหน้าที่อย่างไรบ้าง
  7. ผู้บริหารสูงสุดคือใครและมีบทบาทหน้าที่อย่างไรบ้างในการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล
  8. HR เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้หรือไม่ อย่างไร ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
  9. ความแตกต่างระหว่างผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลพิจารณาอย่างไร
  10. หากบริษัทไม่อยากจ้าง Outsource เข้ามาเป็นผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล จะให้HRที่เป็นผู้ใกล้ชิดข้อมูลมากที่สุดเป็นผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลได้หรือไม่
  11. กรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลอยู่คนละประเทศควรทำอย่างไร
  12. กรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลอยู่คนละประเทศควรทำอย่างไร
  13. หากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลอัพเดตข้อมูลอยู่เสมอ หากเจ้าข้อข้อมูลไม่มาอัพเดตข้อมูล จะถือว่าผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่ทำการอัพเดตข้อมูลให้เป็นปัจจุบันหรือไม่
  14. การสรรหาและเลือก DPO ควรจะต้องมีทำอย่างไร

ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล

การเก็บ

  1. วิธีการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลต้องทำอย่างไร
  2. นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีลักษณะอย่างไร
  3. การเก็บข้อมูลส่วนบุคคลต้องทำอย่างไร
  4. การถอนความยินยอมของเจ้าของข้อมูลต้องกำหนดเวลาหรือไม่
  5. ข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บไว้ก่อนกฎหมายมีผลใช้บังคับต้องทำอย่างไร
  6. ข้อมูลส่วนบุคคลประเภทใดเก็บรวบรวมได้และห้ามเก็บรวบรวม
  7. ข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นข้อมูลชีวภาพคืออะไร
  8. ข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นข้อมูลชีวภาพคืออะไร
  9. ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลควรเก็บไว้นานเพียงใด
  10. ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลควรเก็บไว้นานเพียงใด
  11. ข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมไว้ หรือข้อมูลที่ส่งให้ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลจำเป็นต้องสร้างรหัสผ่านหรือไม่
  12. ข้อมูลส่วนบุคคลถูกส่งมาในรูปแบบเอกสารแต่บรรจุภัณฑ์อยู่ในสภาพชำรุดเสียหาย หากรับเอกสารนั้นมา และเกิดการรั่วไหลของข้อมูลควรทำอย่างไร
  13. พนักงานที่ออกไปแล้ว บริษัทยังสามารถเก็บข้อมูลส่วนบุคคลไว้ได้หรือไม่ กฎหมายมีกำหนดระยะเวลาในการเก็บเพียงใด หากบริษัทมีนโยบายในการเก็บข้อมูลพนักงานนานกว่าที่กฎหมายกำหนด?
  14. การเก็บข้อมูลส่วนบุคคลที่กฎหมายระบุไว้ว่าไม่ต้องขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลสามารถเก็บได้โดยไม่ต้องขอความยินยอมเลยใช่หรือไม่

การใช้

  1. การรับ Resume มาจากเว็บไซด์ต่างๆ ผิดกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่
  2. หากมีการติดตั้งกล้องวงจรปิด ถือว่าผิดกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่
  3. หาก HR อัพโหลดข้อมูลส่วนบุคคลเข้าไปในระบบ ผู้ที่ดูแลระบบดังกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลนั้นได้หรือไม่
  4. พนักงานนำข้อมูลกลับไปทำงานที่บ้านโดยใช้อุปกรณ์ส่วนตัว และเกิดการรั่วไหลของข้อมูลถือเป็นเหตุสุดวิสัยหรือไม่

การเปิดเผย

  1. กรณีเจ้าหน้าที่ธนาคารโทรมาสอบถามถึงสภาพการทำงานของพนักงานว่าลาออกหรือยัง HR สามารถให้ข้อมูลได้หรือไม่
  2. หากบริษัทแม่ซึ่งอยู่ต่างประเทศเป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ต้องการให้บริษัทโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ บริษัทจำเป็นต้องขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่
  3. หากมีการให้ข้อมูลส่วนบุคคลกับบริษัท Outsource และเมื่อดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว บริษัท Outsource จำเป็นต้องส่งข้อมูลกลับมาหรือไม่ หรือสามารแจ้งให้ทำลายได้เลย
  4. หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมาใช้สิทธิขอเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลบริษัทจะไม่ให้เข้าถึงได้หรือไม่
  5. หากเจ้าของข้อมูลมาขอให้ลบข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นข้อมูลที่กฎหมายบังคับให้เก็บตามกฎหมายแรงงานสามารถลบได้หรือไม่
  6. หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลขอให้บริษัททำลายข้อมูล จำเป็นต้องมีหลักฐานอ้างอิงหรือไม่ว่าได้ทำลายข้อมูลแล้วอย่างไร
  7. เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องเรียนบุคคลใดได้บ้างในกรณีมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับแบบฟอร์มและเอกสาร

  1. แบบแสดงความยินยอมต้องทำอย่างไร จำเป็นต้องอยู่ในรูปแบบเอกสารอย่างเดียวหรือไม่สามารถแจ้งเป็นวาจาได้หรือไม่
  2. แบบฟอร์มการขอใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีลักษณะอย่างไร
  3. แบบฟอร์มการปฏิเสธการใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีลักษณะอย่างไร
  4. ระเบียบบริษัทที่ออกมาควรเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษหรือทั้งสองภาษา
  5. นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน หรือลูกค้า
  6. กรณีบริษัทมีนโยบายที่ถูกต้องตามกฎหมายแต่พนักงานเก่านำข้อมูลไปเปิดเผยผู้ใดจะต้องเป็นผู้รับผิดและบริษัทถือเป็นผู้เสียหายหรือไม่
  7. บริษัทถือเป็นผู้เสียหายหรือไม่ ในกรณีถูกจารกรรมข้อมูล


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba