59 ประเด็นทางภาษีสรรพากรสำหรับแพทย์ โรงพยาบาล คลินิก สถานพยาบาล สถานเสริมความงาม พร้อมการวางแผนภาษี

รหัสหลักสูตร : 21/1661

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



59 ประเด็นทางภาษีสรรพากรสำหรับแพทย์ โรงพยาบาล คลินิก
สถานพยาบาล สถานเสริมความงาม พร้อมการวางแผนภาษี


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.


• ด่วนที่สุด!!! สรรพากรเริ่มตรวจสอบสัญญาระหว่างแพทย์, คลินิก, โรงพยาบาล
• Update ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, และภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง
• ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่แพทย์และโรงพยาบาลต้องระวัง
• ความแตกต่างระหว่างเงินได้ ตามมาตรา 40(1) (2) (6) และ (8)
• สถานเสริมความงามเป็นสถานพยาบาลหรือไม่

วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย

หัวข้อสัมมนา

1. Update กฎหมายภาษีที่เกี่ยวกับแพทย์และโรงพยาบาล
• อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
• การหักค่าใช้จ่าย, การหักค่าลดหย่อนตามหลักเกณฑ์ใหม่
• อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
• การตรวจสอบภาษีของสรรพากร

2. ภาระภาษีทั้งระบบของแพทย์ , โรงพยาบาล
• ความสัมพันธ์ของแพทย์และโรงพยาบาลกับภาระภาษีที่ต้องระวัง
• การวางแผนการทําสัญญาระหว่างแพทย์ กับโรงพยาบาล

3. การจัดเก็บภาษีของสรรพากรเกี่ยวกับเงินได้ของแพทย์และความแตกต่างของแต่ละ
ประเภทเงินได้

• การจ้างแรงงาน มาตรา 40(1)
• เงินได้จากการรับทํางานให้ มาตรา 40(2)
• เงินได้จากวิชาชีพอิสระมาตรา 40(6),
• เงินได้จากการประกอบธุรกิจโรงพยาบาล มาตรา 40(8)

4. ภาระภาษีสําหรับเงินได้ที่แพทย์ได้รับ
• ทํางานได้รับเงินเดือน, ค่าจ้าง เป็นรายเดือน
• เข้าไปตรวจรักษาให้ตามบริษัท ตามกําหนดวัน เวลาที่บริษัทกําหนด หรือไปตรวจตามบ้าน
   กรณีฉุกเฉิน
• มีรายได้จากการไปตรวจรักษานอกเวลากับสถานพยาบาลต่างๆ
• เงินค่าล่วงเวลาจากการเข้าเวร หรือค่าตอบแทนพิเศษในการรักษาผู้ป่วยที่ทางโรงพยาบาล
   จ่ายเพิ่มให้
• เปิดคลินิกส่วนตัว ทั้งทําในนามของบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล ภาระภาษีต่างกันหรือไม่
• เปิดคลินิกในสถานพยาบาล หรือโรงยาบาลที่ตนเองทํางานโดยมีสัญญาหรือข้อตกลงกันทั้งกรณี
   เช่าสถานที่และแบ่งรายได้จากการรักษา
• กรณีเช่าสถานที่เปิดคลินิก แต่ให้โรงพยาบาลเป็นผู้เก็บค่ารักษาพยาบาลเองและแบ่งรายได้กัน
   ระหว่างแพทย์กับโรงพยาบาล
• คลินิก, สถานเสริมความงาม กับปัญหาภาษีในการจ่ายเงินให้แพทย์
• มีรายได้จากการนําคนไข้เข้ามารักษาในโรงพยาบาลที่แพทย์ทํางานอยู่ประจํา และไม่ประจํา
• แพทย์ไปเปิดสถานพยาบาล มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน

5. การวางแผนภาษีเงินได้ของแพทย์
• ข้อดีข้อเสียเมื่อเลือกรูปแบบธุรกิจบุคคลธรรมดากับนิติบุคคล

6. แพทย์และสถานพยาบาลต้องเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
• กรณีหลงผิดจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร

7. ถ้าสถานพยาบาลมีรายได้อื่น มีภาระภาษีอะไรบ้าง
• ใช้บ้านของแพทย์เป็นสถานประกอบการ
• การเลือกรูปแบบองค์กรเพื่อการวางแผนภาษี
• การขอถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต้องทําอย่างไร
• ให้โรงพยาบาลอื่นยืมอุปกรณ์ทางการแพทย์
• รับจัดสัมมนา
• การตั้งบู๊ทขายสินค้า
• การให้ใช้ห้องประชุม / สปา / ดีท็อกซ์
• Food Center, ร้านอาหาร
• บริการนวดแผนไทย
• ให้เช่าสถานที่เพื่อเปิดเป็นร้านค้า

8. ภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลของสถานพยาบาลโรงพยาบาล และการวางแผนภาษี
• การรับรู้รายได้ของโรงพยาบาล
• การรับรู้รายได้คลินิกพิเศษ
• สถานเสริมความงามถือเป็นสถานพยาบาลหรือไม่
• การนําธุรกิจโรงพยาบาลไปขอส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
• การบันทึกทรัพย์สินของโรงพยาบาล (อุปกรณ์การแพทย์จะคิดค่าเสื่อมหรือลงเป็นรายจ่าย
   ทั้งจํานวน)
• การมี Contract ระหว่างโรงพยาบาลในการส่งผู้ป่วย,การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์, ห้องพัก
  ของคนไข้ มีภาระภาษีอย่างไร

9. ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับกิจการโรงพยาบาล
• กรณีบริษัทจ่ายค่าตรวจสุขภาพประจําปีของพนักงานต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย สถานพยาบาลหรือไม่
• รายได้จากการรักษาพยาบาล
• กรณีบริษัทจ่ายค่ายาให้โรงพยาบาลต้องหักภาษีหรือไม่ (ฟรีค่าตรวจ คิดแต่ค่ายา)

10. ประเด็นร้อนที่แพทย์และโรงพยาบาลมักถูกสรรพากรประเมิน

11. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba