หลักเกณฑ์และวิธีการเสียภาษีเงินได้จากคริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) โทเคนดิจิทัล (Digital Token) และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พร้อมแนวทางการตรวจสอบของสรรพากร (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/1605Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,638 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,173 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



หลักเกณฑ์และวิธีการเสียภาษีเงินได้จากคริปโทเคอร์เรนซี โทเคนดิจิทัล
และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลพร้อมแนวทางตรวจสอบของสรรพากร

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline                 CPA นับชม.ไม่เป็นทางการได้
 
  • ทําไมต้องเสียภาษีจากภาษีจากคริปโทเคอร์เรนซี โทเคนดิจิทัล!!! ไม่เสียได้หรือไม่?
  • บทสรุปการคํานวณเพื่อเสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย 15% คิดอย่างไรและใครเป็นผู้หักฯ
  • เช็คด่วน!! ไม่ใช่แค่สายขุด สายเทรด ที่เกี่ยวข้องกับภาษีคริปโทฯ
  • รายการเอกสารอะไรบ้างฯ ที่ต้องเตรียมเมื่อสรรพากรเรียกตรวจสอบ
  • ภาษีคริปโทฯ กับการกรอกแบบ (ภ.ง.ด.90) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50, 51)
    ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

วิทยากรโดย ทีมวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากรและการตรวจสอบภาษี

หัวข้อสัมมนา

1. ทำความเข้าใจโลกของเงินดิจิทัล
2. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเงินดิจิทัล (Ecosystem)

  • สายขุดเหรียญ (Mining)
  • สายเทรด (Trading)
  • นำเหรียญไปหาประโยชน์ (Staking, Lending, …)
  • ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล (Exchange)
  • นายหน้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Broker)
  • ผู้ค้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Dealer)
  • ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO Portal)
  • ที่ปรึกษาสินทรัพย์ดิจิทัล (Advisory Service)
  • ผู้จัดการเงินทุนสินทรัพย์ดิจิทัล (Fund Manager)

3. หน่วยงานกำกับดูแล (Regulator)

  • คณะกรรมการ ก.ล.ต.
  • กรมสรรพากร

4. หลักเกณฑ์ทางภาษีตามประมวลรัษฎากร

  • ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจากเงินได้คริปโทเคอร์เรนซี โทเคนดิจิทัล และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
    มีใครบ้าง
  • เงินได้จากธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ คริปโทเคอร์เรนซี โทเคนดิจิทัล และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
    มีหน้าที่ทางภาษีอย่างไร
    • ผู้ขุด
    • ผู้ซื้อ
    • ผู้ขาย
    • สาย Interest
    • Exchange
    • Broker
    • Dealer
    • ICO Portal
    • Advisory Service
    • Fund Manager
  • “ผู้จ่ายเงินได้” มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 15% ของเงินส่วนแบ่งของกำไร หรือ
    ผลประโยชน์ จากการถือหรือครอบครองหรือโอน คริปโทเคอร์เรนซี และโทเคนดิจิทัล หมายถึงใครบ้าง
  • “ผู้จ่ายเงินได้” มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย แต่ไม่ได้หักและนำส่งสรรพากร มีผลอย่างไร
  • การรับรู้เงินได้จากเงินส่วนแบ่งของกำไรหรือผลประโยชน์ จากการถือหรือครอบครอง
    หรือโอนคริปโทเคอร์เรนซี และโทเคนดิจิทัล ที่รับจากในประเทศและต่างประเทศ
  • เงินได้จากการขุดเหรียญแล้วขาย
  • เงินได้จากการนำเหรียญไปหาประโยชน์
  • เงินส่วนแบ่งของกำไร, ผลประโยชน์อื่นใด, ดอกเบี้ย, เงินปันผล, ผลตอบแทนพิเศษ ฯลฯ
  • สายขุด (Mining) หักต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายได้หรือไม่ อย่างไร
  • ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างขุด (Cloud Mining) มีหน้าที่ทางภาษีอย่างไร
  • ขุดเหรียญแล้วถือไว้ มูลค่าตลาดที่เพิ่มขึ้นต้องเสียภาษีหรือไม่ อย่างไร
  • การตีมูลค่าหรือราคาเหรียญ ใช้วิธีใด อย่างไร ณ วันใด
  • ต้นทุนที่สรรพากรยอมรับมีอะไรบ้าง คำนวณอย่างไร
  • ค่าไฟฟ้า ค่ารับฝาก และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หักค่าใช้จ่ายได้หรือไม่

5. แนวทางการตรวจสอบของสรรพากร

  • การตรวจสอบ Exchange ในไทย และต่างประเทศ
  • การขอให้ Exchange หรือธนาคาร ส่งข้อมูลลูกค้า
  • Statement จำนวนครั้ง การรับ-จ่าย โอนเงิน
  • การตรวจสอบค่าซื้ออุปกรณ์, ค่าไฟฟ้า, ค่าเช่า, ค่าใช้จ่ายอื่น
  • การประเมินภาษีย้อนหลัง กรณีเสียภาษีไม่ถูกต้อง

6. กรณีศึกษา เงินได้จากคริปโทเคอร์เรนซี โทเคนดิจิทัล และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

  • การระดมทุน (ICO) ของบริษัทในไทย
  • เทรดผ่าน Exchange
  • ขุดเองโดยลงทุนอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
  • ซื้อเครื่องขุดเอง และมีรายจ่ายเป็นค่าเช่าหรือค่าบริการ
  • จ้างบริษัทขุด โดยจ่ายเป็นค่าเช่าหรือค่าบริการ
  • รับชำระค่าสินค้าหรือบริการ
  • การคิดต้นทุน ค่าซื้ออุปกรณ์การขุด ค่าไฟฟ้า ค่าบริการต่างๆ

7. การจัดทำและเก็บเอกสารหลักฐานเมื่อสรรพากรขอตรวจสอบ

  • เอกสารอะไรบ้าง
  • วิธีการจัดทำและได้มาซึ่งเอกสารต่างๆ
  • เอกสารที่เจ้าหน้าที่สรรพากรยอมรับ พิจารณาอย่างไร

8. มีเงินได้จากคริปโทเคอร์เรนซี โทเคนดิจิทัล และธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ต้องกรอกแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีอย่างไร

  • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.90)
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด. 50, 51)
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

 

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 3 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม

หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม
เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี

** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 0:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากรและการตรวจสอบภาษี

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (CPA นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba