เจาะภาษีธุรกิจ E-commerce พร้อมจุดตรวจสอบของสรรพากร

รหัสหลักสูตร : 21/1727

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

เจาะภาษีธุรกิจ E-commerce พร้อมจุดตรวจสอบของสรรพากร
1. นโยบายการจัดเก็บและตรวจสอบภาษีธุรกิจ e-commerce ของกรมสรรพากรที่ผู้ประกอบการควรต้องทราบ
- ทําธุรกิจอย่างไรไม่ให้ถูกตรวจสอบ
2. ผู้ประกอบธุรกิจ e-commerce จําเป็นต้องจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยหรือไม่
3. การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ถูกต้องตามกฎหมาย แสดงถึงการเป็นผู้เสียภาษีถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ เพียงใด
4. กรณีประกอบธุรกิจโดยไม่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เงินได้ต้องนําไปเสียภาษีด้วยหรือไม่อย่างใด
5. รูปแบบธุรกิจ e-commerce
- ความหมายหรือนิยามของธุรกิจ e-commerce
6. สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายแบบใดได้บ้าง ใช้เอกสารหลักฐานใด
7. กรณีใดได้รับยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
8. เทคนิคการเสียภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมายและประหยัดสูงสุดของธุรกิจ e-commerce
9. ขายของผ่านอินเตอร์เน็ตกรณีใดบ้างไม่ต้องเสียภาษี
10. กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี
- เว็บไซต์แสดงรูป และราคาสินค้า
- เว็บไซต์เพื่อการขายสินค้า
- การขายสินค้าบนชุมชนเว็บบอร์ดโดยผู้ขายไม่มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง
- เว็บไซต์เพื่อการประมูลขายสินค้า จําหน่ายเสื้อผ้า เครื่องสําอาง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ฯ
- เว็บไซต์ห้างสรรพสินค้าออนไลน์
- เว็บไซต์แหล่งซื้อขายภาพถ่ายดิจิตอล
- การรับโฆษณาจากเว็บไซต์ Google
- การทําให้ผลการค้นหาบน Google ติดลําดับแรกๆ
- เว็บไซต์นายหน้าการขายสินค้าและบริการ
- การเล่นเกมผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์
- เว็ปไซต์ที่ให้พื้นที่แก่คนทั่วไปได้เข้ามาจําหน่ายสินค้าของตน หรือของมือสอง
- ขายสินค้าบน Facebook, Instagram, Line, Twitter ต้องยื่นแบบด้วยหรือไม่
11. ธุรกิจ e-commerce เสียภาษีอย่างไร
- ภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม
- ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
12. Case studies เกี่ยวกับการเสียภาษีของผู้ประกอบการธุรกิจ e-commerce
- ขายสินค้าออนไลน์มีรายได้เกินปีละ 1,800,000 บาท ต่อปีต้องเสียภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่อย่างไร
- รายได้จากการขายของออนไลน์สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายแบบใดได้บ้าง เพื่อนํามาหักค่าลดหย่อนภาษีตามกฎหมาย
- จ่ายค่าโฆษณา ผ่านสื่อโซเซียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็น Google facebook, Line จ่ายไปแล้วสามารถนํามาเป็นหลักฐานในทางบัญชีได้หรือไม่
- บริษัท ก ประกอบธุรกิจทางด้านอินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์ให้บริการร้านค้าออนไลน์สําเร็จรูปได้ตกลงขายธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ (บริษัทผู้ซื้อ) ซึ่งจะได้รับการโอนลิขสิทธิ์บริษัทผู้ซื้อจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือไม่ และบริษัท ก มีภาระภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
- การขายบัตรเติมเงินในการเล่นเกมออนไลน์ที่มี Option พิเศษ ถือเป็นการขายสินค้าหรือให้บริการ และจุดรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นเมื่อใด
- การขายโดยรับสมัครตัวแทนจำหน่าย
13. การตรวจสอบรายได้ของผู้ประกอบการ e-commerce และวิธีการตรวจสอบของสรรพากร
- ตรวจสอบตามมาตรา 49 แห่งประมวลรัษฎากร ประเมินจากทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น
- ประเมินโดยการดูบัญชีธนาคาร ที่บัญชีมีเงินเข้ามาตลอดเวลา
- ความคืบหน้าในการตรวจสอบธุรกิจ e-commerce ของสรรพากร
- คนที่ประกอบธุรกิจ e-commerce จะอยู่ในระบบใบกํากับภาษีที่ปริ้นจากระบบคอมพิวเตอร์ส่ง e-mail ลูกค้าปริ้นเองได้หรือไม่
- จุดในการรับรู้รายได้ของ e-commerce และจุดในการรับรู้ภาษีของ e-commerce ในเรื่องของภาษีมูลค่าเพิ่ม
- เอกสารหลักฐานที่จํานํามาลงบัญชีได้อย่างไรบ้าง
- ด้านผู้จ่ายแทน ผู้จ่ายจ่ายเงินให้บริษัทต่างประเทศ มีภาระภาษีเป็นอย่างไร
14. การวางแผนภาษีเบื้องต้นของธุรกิจ e-commerce อย่างไร ให้มีความปลอดภัยในการตรวจสอบภาษี
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

สถานที่

โรงแรมอมารี บูเลอวาร์ด
2 ซ.5 ถ.สุขุมวิท แขวง คลองเตย เขต วัฒนา กทม.
โทรศัพท์ :
02 2552930
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba