สูตรลับทางการบัญชีกับการวางแผนภาษีสำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน BOI

รหัสหลักสูตร : 21/2420

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,350 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,099 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้อสัมมนา

1. ความหมายและความสำคัญของการจัดทำบัญชีภาษีอากรสำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

2. สิ่งที่นักบัญชีควรทราบก่อนการวางแผนภาษี

2.1 กฎหมาย มาตรฐานการบัญชี และการวางระบบบัญชีที่สำคัญ

2.2 ปัญหาการรับรู้รายได้และรายจ่ายทางบัญชีกับกฎหมายภาษีอากร

2.3 สิ่งที่นักบัญชีจะต้องระมัดระวังในการเสียภาษีอากร

2.4 การวางแผนภาษีในการปรับรอบระยะเวลาบัญชีของบัญชีการเงินกับบัญชี BOI

3. การวางแผนภาษีรายได้และค่าใช้จ่ายของ BOI

3.1 การวางแผนภาษีรายได้ และ การรับรู้รายได้

- รายได้ที่ต้องเสียภาษี (NON-BOI)

- รายได้ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี (BOI)

- รายได้จากการส่งออก

- รายได้ที่ๆได้รับการยกเว้นกึ่งหนึ่ง และยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี

- รายได้จากการขายสินค้า วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้

- รายได้จากเศษซากและส่วนสูญเสีย

- กำไร (ขาดทุน) จากการจำหน่ายทรัพย์สิน

- กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน

- รายได้ดอกเบี้ยรับ

- รายได้ที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย กับ ข้อยกเว้น

- รายได้ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และรายได้ที่ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม

3.2 การวางแผนภาษีรายจ่าย

- รายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ

- ปัญหาของภาษีซื้อขอคืนได้และภาษีซื้อต้องห้าม

- เงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ของค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้น 2 เท่า

- การใช้สิทธิประโยชน์ของรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นจากที่จ่ายจริง

- การวางแผนภาษีเอกสารรายจ่ายทำอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้สรรพากรยอมรับ

- รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร ม.65 ทวิ และ 65 ตรี

- ภาษีซื้อต้องห้าม, รายจ่ายในการขายและการบริหาร, ค่ารับรอง

- ผลขาดทุนยกมาไม่เกิน 5 ปี ของ BOI และ NON BOI

- ผลขาดทุนสะสมยกมาในกรณีที่มีบัตรส่งเสริมการลงทุนหลายใบ

- ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม เงินยืมกรรมการ เงินยืมพนักงาน เงินยืมบริษัทในเครือ

- รายจ่ายสวัสดิการพนักงานและรายจ่ายส่วนตัว ให้โดยเสน่หา

4. การวางแผนภาษีเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ได้รับ BOI และ NON BOI

- การวางแผนซื้อทรัพย์สิน รายจ่ายอันมีลักษณะลงทุน รายจ่ายต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก

และทำให้ดีขึ้นให้ได้รับประโยชน์ถือเป็นรายจ่ายทางภาษีเพิ่มขึ้น

- การจำหน่ายสินทรัพย์ BOI ที่ยกเว้นภาษีและไม่ยกเว้นภาษี

- การวางแผนภาษีการคิดค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน เช่น เครื่องจักร Computer, อาคารโรงงาน

เพื่อให้ได้รับสิทธิประโยชน์ได้เพิ่มขึ้น

- การวางแผนภาษีทรัพย์สินสูญหาย/ชำรุดใช้การไม่ได้ จะตัดเป็นค่าใช้จ่ายได้อย่างไรให้สรรพากรยอมรับ

- การวางแผนภาษีทรัพย์สินเหลือ 1 บาท จะตัดออกบัญชีอย่างไรให้ได้รับประโยชน์สูงสุด

- การวางแผนภาษีเกี่ยวกับรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน

5. การวางแผนภาษีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือและวัตถุดิบ

- ราคาทุนและราคาตลาดของสินค้า

- การตีราคาสินค้าคงเหลือ สินค้าขาด หรือเกินจากสต็อก แนวปฏิบัติให้สรรพากรยอมรับ

- การวางแผนภาษีการจัดการของเสียและเศษซาก ต้องปฏิบัติอย่างไรให้ได้รับประโยชน์สูงสุด

- ภาระภาษีที่ต้องระมัดระวังของเสียและเศษซาก

- การวางแผนภาษีสินค้าหรือวัตถุดิบที่มีการระเหย ระเหิด

- การทำลายสินค้าและวัตถุดิบตามเงื่อนของกรมสรรพากร และ BOI

- การวางแผนภาษีตัดสินค้าคงเหลือและวัตถุดิบออกจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบให้เป็นไป

ตามหลักเกณฑ์ประมวลรัษฎากร

6. ถาม/ตอบ

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

สถานที่

โรงแรมสวิส โฮเต็ล
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

รถไฟฟ้าใต้ดินสถานี ห้วยขวาง
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba