การเปลี่ยนแปลงการตรวจสอบภาษีของกรมสรรพากรทั้งระบบยุคดิจิตอล 4.0

รหัสหลักสูตร : 21/17033

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การเปลี่ยนแปลงการตรวจสอบภาษีของกรมสรรพากรทั้งระบบยุคดิจิตอล 4.0

  • ผู้ประกอบการยุคดิจิตอลกับการถูกตรวจสอบภาษี
  • เกณฑ์การขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงภาษี Blacklist ของสรรพากร มีเกณฑ์อย่างไร
  • กลุ่มผู้เสียภาษีที่กรมสรรพากรจะเพ่งเล็งเป็นพิเศษในยุคดิจิตอล 4.0
  • การจัดทำบัญชีและการตรวจสอบบัญชีของกิจการ ที่ทั้งผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีต้องก้าวทัน

หัวข้อสัมมนา

1. การตรวจสอบยุค 4.0 กับประเด็นความไม่รู้ของผู้เสียภาษี
2. การให้ข้อมูลเท็จ หลีกเลี่ยงภาษีและขอคืนภาษีเท็จ ตามพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
3. ความรุนแรงการตรวจใบกำกับภาษีปลอมตามกฎหมายและส่งดำเนินคดีอาญาทันทีแม้พบแค่ใบเดียว
- ฝั่งผู้ขายใบกำกับภาษีปลอม
- ฝั่งผู้นำใบกำกับภาษีปลอมมาใช้
4. การนำข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, การประปา, การไฟฟ้า, ข้อมูลGDP, การซื้อLTF RMF มาใช้ในการตรวจสอบภาษีอย่างไร
5. การตรวจเข้มสำหรับการจัดทำบัญชีและการเสียภาษีให้สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จริง
6. การตรวจสอบภาษีของสรรพากรด้วยระบบ Risk Based Audit System (RBA) ที่เริ่มตรวจเข้มในปี 2561
- การคัดเลือกตรวจสอบผู้เสียภาษีโดยระบบส่วนกลาง มิใช่โดยเจ้าพนักงานประเมิน
- การตรวจตามเกณฑ์ความเสี่ย132 เกณฑ์ การปรับปรุงการแก้เกณฑ์ความเสี่ยงและเดินหน้าให้ถูกต้อง
- การวิเคราะห์ของระบบ RBA ที่สรรพากรนำมาใช้เป็นหลัก
*การวิเคราะห์ทางด้านงบการเงิน
*วิเคราะห์แบบแสดงรายการ
*การวิเคราะห์ผลการตรวจสอบภาษีย้อนหลัง
*ฐานข้อมูลที่เอามาใช้จากทั้งภายใน และะภายนอก
7. เกณฑ์การขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงภาษี Blacklist ของสรรพากร
- การบันทึกข้อมูลของผู้เสียภาษีในกระดาษทำการของสรรพากร
- การนำกระดาษทำการย้อนหลังมาใช้วิเคราะห์ว่าผู้เสียภาษีดำเนินการแก้ไขแล้วหรือไม่
- เมื่อผู้ประกอบการปฏิบัติตามคำแนะนำและวิธีการของสรรพากรแล้ว จะมีการแก้ประวัติในกระดาษทำการหรือไม่
- เมื่อไม่สามารถปิดประเด็นด้วยวิธีการอื่นได้นอกจากการแก้เกณฑ์จะต้องปฏิบัตอย่างไร
8. กลุ่มผู้เสียภาษีที่กรมสรรพากรจะเพ่งเล็งเป็นพิเศษในยุคดิจิตอล 4.0
- กลุ่มยื่นแบบแสดงรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ. 30) ยื่นเท่าไหร่ก็ยื่นเท่าเดิม
- กลุ่มการประกอบธุรกิจที่มีการเติบโตค่อนข้างดีแต่แบบภ.ง.ด.51 ยังไม่สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จ
- บุคคลธรรมดาไม่ได้เป็นนิติบุคคลแต่ยังยื่นแสดงรายการเสียภาษีภ.งด.54 เท่าเดิม ทั้งที่หักเหมาค่าใช้จ่ายได้ลดลง
- การเลือกเป็นคณะบุคคลแต่ยังไม่มีการแบ่งกำไรหรือแบ่งกำไรแล้วไม่นำมารวมเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษี
9. ความสำคัญของการตรวจแนะนำ ที่ผู้เสียภาษีเข้าใจว่าอาจไม่มีผลกระทบ แต่กลับมีผลอย่างยิ่งต่อการตรวจสอบภาษียุค4.0
- การเพิ่มกำลังหน่วยแนะนำด้านภาษีเพิ่มทำไม เพิ่มเพื่ออะไร ความคาดหวังของสรรพากร
- การนำประวัติของผุ้เสียภาษีจากการตรวจแนะนำส่งเข้าระบบกลาง
- หากหน่วยนต.ตรวจแนะนำแล้วผู้เสียภาษีไม่ปฏิบัติตามผลจะเป็นอย่างไร
10. การเลือกใช้เครื่องมือเพื่อการจัดเก็บภาษีของสรรพากร 4. 0
- การตรวจแนะนำด้านภาษีอากร
- การวิเคราะห์ข้อมูลและแบบแสดงรายการภาษี
- การตรวจปฏิบัติการ
- การออกหมายเรียกตรวจสอบภาษี
- การแจ้งเตือนการเสียภาษี
11. การตรวจสอบตามหมายเรียก ทุกประเด็นและทุกภาษี
- ขั้นตอน วิธีการออกหมายเรียก และผลทางกฎหมาย
- จุดระวังที่สรรพากรพบและต้องออกหมายเรียกอย่างแน่นอน
- การเตรียมเอกสารหลักฐานและวิธีการให้คำชี้แจงมื่อถูกหมายเรียก
12. การตรวจปฏิบัติการ STOCK สินค้า, สินค้าคงเหลือ, เศษซากของสินค้า, การมีสินค้าที่เหลือไม่ตรงกับที่ออกใบกำกับภาษีไปและการมีบัญชี STOCK มากกว่า 1บัญชี
13. การตรวจสอบการใช้เครื่องEDC(Electronic Data Capture)
- นิติบุคคลแบบไหนที่จะต้องติดตั้งเครื่อง EDC ตามประกาศกรมธุรกิจการค้าฉบับใหม่
- กิจการที่ใช้เครื่อง EDC กับกิจการที่ไม่ใช้เครื่องEDC วิธีการตรวจสอบแตกต่างกันอย่างไร หรือไม่
- ความเสี่ยงที่จะถูกตรวจสอบและประเมินจากการไม่ใช้เครื่อง EDC
14. แนวทางการตรวจสอบเส้นทางการเดินเงินจากการทำธุรกรรมการเงินยุคดิจิตอล และการตรวจสอบรายการค้าต่างๆ
- เครื่อง EDC
- Prompt pay
- Internet Banking - digital wallet
- e-Money
- การตรวสอบรายการการจ่ายเงินจากการซื้อขายผ่าน e-market
15. ประเด็นตรวจสอบการขายของออนไลน์เพื่อให้นำรายได้นอกระบบที่ไม่ได้นำมายื่นเสียภาษีเสียภาษีอย่างถูกต้อง
16. มาตรการการตรวจสอบภาษีจากเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
- การตรวจสอบ e-Witholding Tax กรณีผู้จ่ายเงินได้จ่ายผ่านธนาคารและการให้ผู้จ่ายค่าซื้อสินค้าและ บริการให้แก่ผู้ประกอบการต่างประเทศ มีหน้าที่หักและนำส่งต่อธนาคาร
- การตรวจสอบระบบ e – Tax Invoice และ e-Receipt
17. ความแตกต่างที่ชัดเจนของการตรวจสอบภาษีของสรรพากรจากรูปแบบเก่าสู่การตรวจสอบยุคดิจิตอล 4.0
- การปรับปรุงโครงสร้างจากทีมกำกับดูแลเป็นทีมตรวจแนะนำ
18. คำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญจริงจากการตรวจสอบ เพื่อทำให้เสียภาษีอย่างถูกต้อง ปลอดภัย
19. การเปลี่ยนแปลงการตรวจสอบภาษียุคดิจิตอล 4.0 ที่มีผลต่อผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีในการจัดทำบัญชีและ การตรวจสอบบัญชีของกิจการ
ที่ทั้งผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีต้องก้าวทัน
20. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญช
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02 656 0444
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba