ภาษีอากรสำหรับค่าจ้าง สวัสดิการของพนักงาน ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด

รหัสหลักสูตร : 21/1282

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,173 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,922 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


ภาษีอากรสำหรับค่าจ้าง สวัสดิการของพนักงาน
ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

Promotion เข้าอบรมเดือนธันวาคม 2562
1. ฟรี! DHARMNITI Planner 2020
2. รับฟรี! Coupon ส่วนลด 1,000 บาท
มูลค่า 500 บาท 2 ใบ ใช้ได้ 1 ใบ/ 1 หลักสูตร / 1 ที่นั่ง (เงื่อนไขตามที่ระบุในคูปอง) เพื่อใช้เป็นส่วนลดค่าอบรม
เดือน ม.ค.-ก.พ. 2563 และจองอบรมก่อน 31 ธ.ค. 2562

 

Update!!! ประเด็นค่าจ้าง สวัสดิการ ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ 2562 บังคับใช้
5 พ.ค.62 ที่มีผลกระทบต่อภาระภาษี
• ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปี ได้ค่าชดเชย 400 วัน
• ลากิจธุระจำเป็น 3 วันต่อปี
• ลาคลอดได้ 98 วัน
• ดอกเบี้ยจากการจ่ายค่าตอบแทนล่าช้า
• ค่าชดเชยพิเศษกรณีย้ายสถานประกอบการและลูกจ้างไม่ย้ายตาม ฯลฯ

 

วิทยากรโดย รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว

หัวข้อสัมมนา

1. ภาษีที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีต้องรู้
• ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
• ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
• กฎหมายใหม่ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด

2. เมื่อยื่นแล้วสามารถแก้ไขได้หรือไม่
• ล.ย.01
• กรณีพนักงานแจ้ง ล.ย.01 ผิด ใครต้องรับผิดชอบ

3. เกณฑ์การตรวจสอบของสรรพากรเกี่ยวกับประเภทรายได้ของพนักงานลูกจ้าง

4. ประเด็นการให้สวัสดิการแก่ลูกจ้างที่ฝ่ายบุคคลและผู้บริหารต้องรู้เพราะมักถูกสรรพากรตรวจสอบ

5. เขียนสวัสดิการอย่างไรให้บริษัทลงรายจ่ายได้และไม่เป็นรายได้พนักงาน

6. สวัสดิการที่ให้พนักงานจะเลือกให้แค่บางปีได้หรือไม่

7. 20 Case Studies ทางภาษีที่เกี่ยวกับการให้สวัสดิการที่มีปัญหา
• ค่าคอมมิชชั่นมีหลักเกณฑ์การจ่ายอย่างไร
• ค่าครองชีพมีเงื่อนไขการจ่ายอยู่ที่เหตุผลใด
• ค่าเที่ยวคนขับรถต้องจ่ายทุกครั้งหรือไม่
• เบี้ยขยัน มีการประเมินก่อนจ่ายหรือไม่
• เบี้ยเลี้ยงจ่ายให้กับพนักงานฝ่ายไหน อัตราเท่าใด
• ค่าน้ำมันรถส่วนตัวของพนักงาน มีการอนุมัติและผ่านการตรวจสภาพหรือไม่จ่ายตามจริงหรือเหมาจ่ายรายเดือน
• ค่าโทรศัพท์มีการแสดงหมายเลขปลายทางหรือไม่
• โบนัสเป็นลักษณะผันแปรหรือคงที่และจ่ายจากยอดขายหรือผลกำไร
• ค่ารักษาพยาบาลให้ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกด้วยหรือไม่
• การประกันภัยกลุ่มพนักงาน ระบุผู้ใดเป็นผู้รับประโยชน์ในกรมธรรม์
• ทุนการศึกษาของพนักงานต้องไปเรียนในด้านใด
• ทุนการศึกษาบุตรของพนักงานมีการกำหนดระดับการศึกษาหรือไม่
• ช่วยเหลืองานสมรส ต้องมีทะเบียนสมรสหรือไม่
• ช่วยเหลืองานศพ ต้องจัดทำพวงหรีดและวางไว้ณ จุดใด
• ออกภาษีให้พนักงานกำหนดในระเบียบหรือหนังสือสัญญา
• การเลี้ยงอาหารกลางวันและเครื่องดื่มต่างจากการให้น้ำดื่มอย่างไร
• การใช้รถประจำตำแหน่งของผู้บริหารหลังเลิกงานแล้วจอดที่ใด
• เงินประจำตำแหน่งผู้บริหารอยู่ในโครงสร้างเงินเดือนหรือไม่
• รถรับ-ส่งพนักงานต่างจากรถรับ-ส่งนักเรียนอย่างไร

8. การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายที่ต้องระมัดระวัง
• เริ่มทำงานปีแรก
• ปรับเงินเดือนระหว่างปี
• เกษียณอายุ
• ลาออกจากงาน
• เลิกจ้าง
• ลาออกจากกองทุน

9. กรณีจ้าง Out source ต้องคำนวณหักภาษีณ ที่จ่ายอย่างไร

10.เมื่อมีการทุจริตจะบังคับให้ชดใช้จากเงินเดือนได้หรือไม่ ในทางภาษีจะคำนวณอย่างไร

11.ตรวจสอบข้อบังคับการทำงาน และระเบียบสวัสดิการพนักงาน

12.ประเด็นสวัสดิการที่มีปัญหากับประกันสังคม

13.การลงรายจ่ายค่าอบรม 200% ต้องทำอย่างไร
• Public Training
• In-house Training

14.คุณธรรม จริยธรรม และจรรณยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ :
02-641-1500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba