เทคนิคการปิดบัญชีสำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI และการเตรียมพร้อมเมื่อผู้สอบบัญชีเข้าตรวจ (จ.พระนครศรีอยุธยา)

รหัสหลักสูตร : 21/2237

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,494 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,243 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

1.กระบวนการจัดทำบัญชีของกิจการ BOI

2.เทคนิคการแยกและตรวจสอบเอกสารก่อนการบันทึกบัญชีทั้ง BOI และ NON BOI

3.เทคนิคการจัดประเภทรายได้ ค่าใช้จ่ายก่อนการปิดบัญชี

- การเฉลี่ยรายได้และค่าใช้จ่ายให้กับ BOI และ NON BOI

- การเฉลี่ยภาษีซื้อ กรณีที่กิจการมีรายได้ที่เสีย VAT และ NON VAT

4.การแยกทรัพย์สินที่ขออนุมัติส่งเสริม BOI กับที่ไม่ขออนุมัติส่งเสริม BOI

5.การรับรู้รายได้และรายจ่ายของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนจาก BOI

-วันเริ่มมีรายได้ วันใดถือเป็นวันแรกของกิจการ BOI

-รายได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล

-รายได้จากการขายเครื่องจักร, อุปกรณ์, ทรัพย์สิน

-รายได้อื่น เช่น ดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชีสะสมทรัพย์

-เงินชดเชยภาษีอากร กำไรจากการปริวรรตเงินตราต่างประเทศที่เกิดจากธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน

-เงินปันผลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

6.การรับรู้ค่าใช้จ่าย

- การแยกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นว่าค่าใช้จ่ายใดได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ (BOI) และค่าใช้จ่ายใดไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ (Non BOI)

7.เจาะลึกขั้นตอนการปิดบัญชี (Workshop)และประเด็นที่ต้องระมัดระวังสำหรับธุรกิจBOI

7.1 บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป

- การบันทึกบัญชีรายการค้าที่เกิดขึ้น

- การผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภท

7.2 ปิดบัญชีแยกประเภททุกบัญชีและเทคนิคการตรวจสอบความผิดปกติ

7.3การจัดทำงบทดลอง ก่อนปรับปรุง

7.4 วิธีการเก็บรายละเอียดบัญชีต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงและปิดบัญชีและการดูบัตรส่งเสริมประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและประโยชน์ที่ได้รับ

- ทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร

- ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า

- รายได้ค้างรับ - รายได้รับล่วงหน้า

- ตรวจนับและเก็บรายละเอียดสินค้าคงเหลือ

- ทรัพย์สินรายละเอียดเครื่องจักรแยกตามบัตรส่งเสริม

- ลูกหนี้ (รายตัว) - เจ้าหนี้ (รายตัว)

- รายละเอียดเครดิตภาษี

- หลักทรัพย์สำคัญต่างๆ เช่น พันธบัตร หลักทรัพย์ลงทุน

7.5 เทคนิคการคำนวณรายได้ ค่าใช้จ่ายทางบัญชี

- วันที่เริ่มมีรายได้ตามบัตรส่งเสริมฯ

- รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามบัตรส่งเสริมฯ

- การแยกและเฉลี่ยรายจ่าย BOI และ Non BOI

- กรณีไม่สามารถแยกได้ชัดแจ้งและไม่มีเกณฑ์ที่จะเฉลี่ยอย่างเหมาะสม มีแนวปฏิบัติอย่างไร

- การหักรายจ่าย 2 เท่า : ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา

- การหักรายจ่าย 1.25 เท่า : ค่าติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอํานวยความสะดวก

7.6 ทำรายการปรับปรุงบัญชี

7.7 ออกงบทดลองหลังการปรับปรุงบัญชี

7.8 เทคนิคการจัดทำงบการเงิน

- งบแสดงฐานะทางการเงิน - งบกำไรขาดทุน

- งบกระแสเงินสด - งบต้นทุนการผลิต

7.9 วิธีการเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี

7.10 การกรอกแบบ ภงด.50,51 สบช.3

8.ข้อควรระมัดระวังในการคำนวณกำไรสุทธิและปัญหาในการยื่นแบบเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

9.หลักเกณฑ์ตามสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมของ BOI

10.วิธีการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีและการเตรียมความพร้อมเมื่อผู้สอบบัญชีเข้าตรวจ

- บัตรส่งเสริม

- เงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ของแต่ละบัตร

- รายละเอียดเครื่องจักรและรายละเอียดความเคลื่อนไหวแยกตามแต่ละบัตร

- ยอดยกมาในรายละเอียดเครื่องจักรปีปัจจุบันว่าตรงกับยอดยกไปของงวดก่อนหรือไม่

- รายการซื้อเครื่องจักรเพิ่มเอกสารประกอบการซื้อและการชำระเงิน

- รายละเอียดเครื่องจักรว่าตรงกับเงื่อนไขของแต่ละบัตรหรือไม่

- ตรวจนับว่าตรงกับเอกสารประกอบการซื้อหรือไม่

- ตรวจรายละเอียดปริมาณผลิตสินค้าของเครื่องจักรแต่ละเครื่อง

- เปรียบเทียบกำลังการผลิตตามบัตรส่งเสริมแต่ละบัตรกับปริมาณการผลิตที่ผลิตได้จริง

- รายละเอียดปริมาณการขายและมูลค่าการขายสรุปตามรายวัน รายเดือน รายปี แยกตามแต่ละบัตรส่งเสริม

11.เอกสารสำคัญที่ต้องเตรียมให้ผู้สอบบัญชี

12.แนวทางการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริม (กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน)

13.คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล

สถานที่

โรงแรมคลาสสิค คามิโอ อยุธยา
210 - 211, 148 ม.5 ถ.โรจนะ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.อยุธยา
โทรศัพท์ :
035 212535
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba