เจาะภาษีจากการขายสินค้า-ให้บริการ Online, ธุรกิจ e-Commerce พร้อมจุดตรวจสอบของสรรพากร

รหัสหลักสูตร : 21/1727

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เจาะภาษีจากการขายสินค้า-ให้บริการ Online,
ธุรกิจ e-Commerce พร้อมจุดตรวจสอบของสรรพากร

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.


• กฎหมาย e-Payment ขายของออนไลน์/ ธุรกิจ e-Commerce ถูกเก็บภาษีเพิ่มจริงหรือไม่?
• ขายของผ่าน Social (Line, Facebook, Tiktok, Twitter, YouTube, Website, Amazon, Alibaba)
• Live สดขายสินค้า, รับรีวิวสินค้า, Youtubers, influencer เสียภาษีอย่างไร
• เข้าใจระบบภาษีอย่างง่ายสำหรับธุรกิจขายสินค้าออนไลน์ ไม่มีพื้นฐานก็สามารถเรียนได้
• การวางแผนธุรกิจทำอย่างไรให้ประหยัดภาษีและถูกต้องตามกฎหมาย
• จริงหรือ? สรรพากรตรวจธุรกิจออนไลน์ด้วยโปรแกรมล่อซื้อ
• แนวทางการตรวจเข้มของสรรพากรกับธุรกิจขายสินค้า Online, ธุรกิจ Commerce
 

วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย

หัวข้อสัมมนา

1. นโยบายการจัดเก็บและตรวจสอบภาษีจากการขาย-ให้บริการออนไลน์,
    ธุรกิจ e-Commerce ของกรมสรรพากรที่ผู้ประกอบการต้องรู้

    • Update กฎหมายภาษี 2564 ที่เกี่ยวข้องกับกิจการ
    • Update ร่างกฎหมาย e-Service การจัดเก็บภาษีการให้บริการทาง Online

2. การขาย-ให้บริการออนไลน์, ธุรกิจ e-Commerce จำเป็นต้องจดทะเบียนพาณิชย์
    อิเล็กทรอนิกส์ด้วยหรือไม่

    • การจดทะเบียน แสดงถึงการเป็นผู้เสียภาษีถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่

3. ขาย-ให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ตกรณีใดบ้างที่ยกเว้นภาษี

4. การขาย-ให้บริการออนไลน์และธุรกิจ e-Commerce ที่มีในปัจจุบันกับภาระภาษี
    • ธุรกิจกับผู้ซื้อปลีก (B-to-C)
    • ธุรกิจกับธุรกิจ (B-to-B)
    • ธุรกิจกับรัฐบาล (B-to-G)
    • รัฐบาลกับรัฐบาล (G-to-G)
    • ผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C-to-C)
    • ภาครัฐกับประชาชน (G-to-C)
    • ขาย-ให้บริการผ่าน Facebook, Instagram, Line, Twitter, Tiktok, YouTube

5. ขาย-ให้บริการผ่าน Online, ธุรกิจ e-Commerce เสียภาษีอย่างไร
    • ภาษีเงินได้นิติบุคคล
    • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
    • ภาษีมูลค่าเพิ่ม
    • ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย - การหักค่าลดหย่อนภาษีตามกฎหมาย
    • Live สด/ รับรีวิวสินค้า/ Youtubers/ influencer ต้องเสียภาษีอย่างไร

6. Case studies เกี่ยวกับการเสียภาษีของผู้ประกอบการขาย-ให้บริการผ่าน
    Online ธุรกิจ e-Commerce

    • ขายสินค้าออนไลน์มีรายได้เกินปีละ 1,800,000 บาท ต่อปี
    • ขายผ่านแพลตฟอร์ม เช่น Shopee, Lazada ใครต้องออกใบกำกับภาษี
    • กรณีขายของออนไลน์มีหลายออร์เดอร์ในแต่ละวัน กับปัญหาการออกใบกำกับภาษี
    • กรณีเติมเงินเข้า e-Wallet (กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์) ต้องรับรู้รายได้หรือไม่
    • จ่ายค่าโฆษณา ผ่านสื่อโซเซียลมีเดีย (Google, Facebook, Line) ถือเป็นหลักฐาน
       ลงรายจ่ายทางบัญชีได้หรือไม่
    • การขายโดยรับสมัครตัวแทนจำหน่าย
    • การทำ See On Google (SEO)
    • รับโฆษณาจาก Platform ออนไลน์
    • การเล่นเกมผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์
    • เว็บไซต์เพื่อการขายสินค้า, ประมูลขายสินค้า, ห้างสรรพสินค้าออนไลน์, แหล่งซื้อขาย
       ภาพถ่ายดิจิตอล

7. การตรวจสอบรายได้ของผู้ประกอบการการขาย-ให้บริการ Online,
    ธุรกิจ e-Commerce และวิธีการตรวจสอบของสรรพากร

    • ช่องทางการขาย
    • การตรวจสอบ Bank Statement รายได้ย้อนหลัง
    • การใช้บัญชีผู้อื่นรับเงินแทน
    • Stock สินค้า
    • การเข้า-ออกของสินค้ากับยอดขาย

8. Check List เอกสาร หลักฐานที่ผู้ประกอบการต้องมีและสามารถนำมาบันทึกบัญชี
    เมื่อสรรพากรขอตรวจ!!

9. ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์กับการปรับตัวทางด้านภาษีองผู้ประกอบ
    การขาย-ให้บริการผ่าน Online, ธุรกิจ e-Commerce

    • กฎหมาย e-Payment
    • ระบบ e-Tax Invoice
    • ระบบ e-Withholding Tax

10.การวางแผนธุรกิจทำอย่างไรให้ประหยัดภาษีและถูกต้องตามกฎหมาย

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba