100 ประเด็น 100 ปัญหา แนวปฏิบัติการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่ต้องระมัดระวัง

รหัสหลักสูตร : 21/2271

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

100 ประเด็น 100 ปัญหาแนวปฏิบัติการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี

ที่ต้องระมัดระวัง

หัวข้อสัมมนา

1. มาตรฐานการบัญชีที่บังคับใช้ในปัจจุบัน
2. ทิศทางของการปรับเปลี่ยนมาตรฐานที่มีผลกระทบ ต่อการดําเนินธุรกิจในยุคการค้าเสรีอาเซียน
3. มาตรฐานการบัญชีที่ยกเว้นสําหรับกิจการทั่วไป
4. วัตถุประสงค์ที่สําคัญของกรอบแนวคิดสําหรับ การรายงานทางการเงิน
5. กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงินคือ อะไรและเป็นมาตรฐานการบัญชีหรือไม่
6. ในการบันทึกบัญชีและการับรู้รายการทางบัญชีจะ ต้องอยู่ภายใต้ข้อสมมุติใดบ้าง
7. การจัดทําบัญชีและงบการเงินจะใช้เกณฑ์คงค้าง หรือเกณฑ์เงินสดมีหลักเกณฑ์อย่างไร
8. อย่างไรจึงจะถือว่างบการเงินมีลักษณะเชิงคุณภาพ
9. งบการเงินจะเชื่อถือได้นั้นมีหลักเกณฑ์อย่างไร
10. การจัดทํางบการเงินเน้นเนื้อหาสําคัญกว่ารูปแบบมี หลักเกณฑ์อย่างไร
11. ประเภทของรายการทางบัญชีตามองค์ประกอบ ของงบการเงินมีอะไรบ้าง
12. การวัดมูลค่าและเกณฑ์ในการใช้วัดมูลค่าเพื่อรับรู้ จํานวนเงินในงบการเงิน
13. อย่างไรถือเป็นสินค้าคงเหลือตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2
14. ปัญหาในการจัดทําบัญชีสินค้าและการบันทึกบัญชี
15. ความแตกต่างการบันทึกบัญชีแบบต่อเนื่องและ แบบสิ้นงวด
16. การวัดมูลค่าของสินค้าคงเหลือมีกี่วิธีกิจการมี หลักเกณฑ์เลือกวัดมูลค่าอย่างไร
17. ต้นทุนของสินค้าคงเหลือประกอบด้วยอะไรบ้าง
18. การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือโดยวิธีมูลค่าสุทธิที่จะ ได้รับเป็นอย่างไร
19. เมื่อใดกิจการรับรู้สินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่าย
20. ปัญหาในการตีราคาสินค้าคงเหลือ และผลกระทบ ต่อการบันทึกบัญชี
21. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่ากิจการมีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เป็นอย่างไร
22. การรับรู้รายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จะต้อง เข้าเงื่อนไขใดบ้าง
23. องค์ประกอบของต้นทุนที่ดินอาคารและอุปกรณ์
24. ภาษีซื้อที่เรียกคืนไม่ได้จะถือเป็นต้นทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือไม่การวัดมูลค่าของต้นทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
25. การวัดมูลค่าของต้นทุนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
26. การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการมีกี่วิธี
27. ความแตกต่างของราคาทุนกับราคายุติธรรม
28. หลักเกณฑ์ในการตีราคาใหม่ของที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์
29. มีกรณีใดบ้างที่กิจการจะต้องโอนส่วนเกินทุนไปยัง กําไรสะสม
30. ตัวอย่างการบันทึกบัญชีการตีราคาสินทรัพย์ใหม่
31. การแลกเปลี่ยนสินทรพัย์จะใช้ราคาใดบันทึกบัญชี
32. ปัญหาการบันทึกบัญชีการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์
33. ข้อจํากัดที่สําคัญในการตีราคาทรัพย์สิน
34. ในการตีราคาทรัพย์สินตํ่าลงจะมีผลในการบันทึก บัญชีอย่างไร
35. ปัญหาการบันทึกบัญชีแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ คล้ายคลึงกัน
36. ปัญหาการบันทึกบัญชีและเปลี่ยนสินทรัพย์ที่ แตกต่างกัน
37. กิจการจะต้องมีการทบทวนอายุการใช้ประโยชน์ ของสินทรัพย์หรือไม่
38. การเลือกวิธีการหักค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์มี หลักเกณฑ์อย่างไร
39. การรับรู้ค่าเสื่อมราคามีหลักเกณฑ์อย่างไร
40. อะไหล่ของเครื่องจักรที่ซื้อมาสํารองไว้เพื่อเปลี่ยน จะบันทึกบัญชีเป็นสินทรัพย์หรือค่าใช้จ่าย
41. สินทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้งานหรือหยุดใช้งานจะตัด ค่าเสื่อมราคาหรือไม่
42. กิจการจะตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เมื่อใด
43. สินทรัพย์ชํารุดเสียหายจะตัดออกจากบัญชีเป็น ค่าใช้จ่ายได้เมื่อใด
44. การสิ้นสุดการคิดค่าเสื่อมราคาจะเกิดขึ้นเมื่อใด
45. กิจการจะต้องพิจารณาการด้อยค่าสินทรัพย์หรือไม่ เมื่อใด
46. การแสดงมูลค่าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์มีกี่วิธี
47. ซอฟท์แวร์ที่ติดมากับคอมพิวเตอร์จะบันทึกบัญชี แยกหรือรวมกัน
48. เมื่อไหร่เริ่มคิดค่าเสื่อมราคราสินทรัพย์
49. กิจการซื้อที่ดินพร้อมอาคารรวมกันจะใช้ราคาอะไร ในการบันทึกบัญชี
50. ความหมายของรายได้
51. การรับรู้รายได้แนวปฏิบัติที่สําคัญ
52. การวัดมูลค่าของรายได้จะใช้ราคาอะไร
53. รายได้จากการขายสินค้าจะรับรู้ต้องเข้าเงื่อนไข อะไรบ้าง
54. กิจการขายสินค้าจะไม่รับรู้เป็นรายได้ในกรณีใด
55. รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์จะรับรู้อย่างไร ตามหลักเกณฑ์ใหม่
56. การขายสินค้าที่มีเงื่อนไข เช่น ขายสินค้าพร้อม ติดตั้ง ผู้ซื้อสามารถคืนสินค้าได้จะรับรู้เมื่อใด
57. กิจการฝากขายสินค้าจะรับรู้รายได้อย่างไร
58. การขายสินค้าที่ตกลงชําระเงินต่อเมื่อส่งมอบ สินค้ารับรู้รายได้เมื่อใด
59. การขายสินค้าโดยการผ่อนชําระมีหลักเกณฑ์ การรับรู้รายได้อย่างไร
60. ค่าสมาชิกค่าหนังสือพิมพ์นิตยสาร มีหลักเกณฑ์ การรับรู้รายได้อย่างไร
61. การรับรู้รายได้ของกิจการให้บริการ
62. ธุรกิจให้บริการประเภทใดที่รับรู้รายได้โดยวิธีขั้น ความสําเร็จของงาน
63. ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง จะรับรู้รายได้อย่างไรบ้าง
64. มีวิธีอะไรบ้างในการวัดขั้นความสําเร็จของงาน ของธุรกิจให้บริการ
65. การให้บริการติดตั้งรับรู้รายได้อย่างไร
66. กิจการให้บริการค่านายหน้าตัวแทน เช่น นายหน้าขายสินค้านายหน้าค่าโฆษณานายหน้า ค่าประกันภัยจะรับรู้รายได้อย่างไร
67. รายได้ค่าบริการสมาชิก ค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง สมาชิก จะรับรู้รายได้อย่างไร
68. หลักเกณฑ์ในการรับรู้รายได้อื่น
69. รายได้เงินปันผล จะรับรู้ได้อย่างไร และเงื่อนไข ที่สําคัญ
70. รายได้ค่าดอกเบี้ย รายได้ค่าสิทธิมีหลักเกณฑ์ การรับรู้รายได้อะไรบ้าง
71. ลูกหนี้ประเภทใด ที่จะนํามาตัดจําหน่ายหนี้สูญ
72. วิธีการบันทึกบัญชีในการตัดจําหน่ายหนี้สูญมีกี่วิธี
73. ข้อดีและข้อเสียในการตัดจําหน่ายหนี้สูญ
74. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีหลักเกณฑ์อย่างไร
75. หลักเกณฑ์การประมาณการหนี้สงสัยจะสูญ ตามมาตรฐานการบัญชี
76. การบันทึกบัญชีการประมาณการหนี้สงสัยจะสูญ
77. กิจการจะตัดรายการลูกหนี้ออกจากบัญชีในกรณี ใดบ้าง
78. หลักเกณฑ์การบันทึกบัญชีในการตัดจําหน่ายหนี้สูญ
79. แนวปฏิบัติและการบันทึกบัญชีกรณีหนี้สูญได้รับคืน
80. ต้นทุนการกู้ยืม ความหมายและหลักเกณฑ์ที่สําคัญ
81. ส่วนประกอบของต้นทุนการกู้ยืม ประกอบด้วยอะไร บ้าง
82. ต้นทุนการกู้ยืมมีหลักเกณฑ์อย่างไรที่จะถือเป็น ค่าใช้จ่าย
83. ต้นทุนการกู้ยืมมีหลักเกณฑ์อย่างไร ที่จะถือเป็น ต้นทุนของสินทรัพย์
84. แนวปฏิบัติของต้นทุนการกู้ยืม
85. ปัญหาการคํานวนต้นทุนการกู้ยืมในการจัดหา สินทรัพย์
86. เมื่อไหร่จะถือเป็นสิ้นสุดการรวมต้นทุนการกู้ยืม เป็นต้นทุนของสินทรัพย์
87. การจัดทําและนําเสนองบการเงินรูปแบบใหม่ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1
88. ประเภทและรูปแบบงบการเงินใหม่
89. การจัดทํางบการเงินจะต้องพิจารณาข้อสมมุติฐาน อะไรบ้าง
90. ข้อมูลที่ต้องมีในงบการเงินและข้อจํากัดในการ จัดทํางบการเงิน
91. ความหมายของเงินสด และรายการเทียบเท่า เงินสด
92. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจัดทํา งบกระแสเงินสด
93. การจัดทํางบกระแสเงินสดและประเภทของรายการ ในงบกระแสเงินสด
94. ปัญหาในการจัดทํางบกระแสเงินสด วิธีทางตรง และวิธีทางอ้อม
95. ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่ายจะถือเป็นกิจกรรมใด ในงบกระแสเงินสด
96. เงินปันผลรับและเงินปันผลจ่ายจะถือเป็นกิจกรรม ใดในงบกระแสเงินสด
97. นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงิน
98. การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีมีอย่างไร บ้างแนวปฏิบัติที่สําคัญ
99. ข้อผิดพลาดที่สําคัญจะปรับปรุงในรอบระยะบัญชีใด
100. เตรียมรับมือมาตรฐานการบัญชีที่จะนําออกมาใช้ ใหม่มีอะไรบ้าง
101. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ วิชาชีพบัญช

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

ดร.วิทยา อรุณศิริเพ็ชร

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba