• จริงหรือไม่? กรมสรรพากรพัฒนาโปรแกรมที่สามารถทราบรายได้ของผู้ขายสินค้าออนไลน์ได้! แล้วผู้ประกอบการต้องรับมืออย่างไร?
• ขยายเวลา!! ลงรายจ่าย 2 เท่า จากการลงทุนและใช้บริการระบบ e-Tax Invoice & e-Receipt และ e-Withholding Tax • ระบบ e-Withholding Tax กับอัตราการหัก ณ ที่จ่ายใหม่!! เหลือ 1% • หลักเกณฑ์การจัดทำเอกสารหลักฐานหรือหนังสือด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามกฎกระทรวง 384 • ระวัง!!! สรรพากรตรวจสอบอะไร?? จากข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะของคุณ และประเด็น การตรวจสอบย้อนหลังจากข้อมูลการรับ-โอนเงิน • e-Service ใครเป็นผู้ได้รับผลกระทบ เสียหรือนำส่ง VAT 7% • เจาะประเด็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อกิจการเมื่อสรรพากรนํากฎหมาย e–Payment มาใช้ ในการจัดเก็บภาษี
วิทยากรโดย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายภาษีอากร
หัวข้อสัมมนา
1. สรุปสาระสำคัญและ พ.ร.บ. e-Payment • Update หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำตามที่กฎหมายกำหนดเพื่อส่งเสริมการใช้ ระบบ e-Payment ที่ผู้ประกอบการพลาดไม่ได้
2. ธุรกรรมลักษณะเฉพาะกับการจัดเก็บและการตรวจสอบภาษีของสรรพากร • ทำความเข้าใจกับคำว่า “ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ” • วิธีการให้ได้มาซึ่งข้อมูลของกรมสรรพากรในยุคดิจิทัล • การส่งข้อมูลเคลื่อนไหวทางบัญชีรับโอน-ฝากเงิน เกิน 3,000 ครั้งต่อปี หรือ 400 ครั้ง ยอดรวม 2 ล้านบาทขึ้นไปต่อปีและกรณีใดไม่เข้าเกณฑ์ต้องส่งรายงานข้อมูลให้สรรพากร พร้อมวิธีการวางแผน • สถาบันการเงินใดบ้างและข้อมูลใดบ้างที่จะถูกนำส่งให้สรรพากร • นับรวมทุกสถาบันการเงินหรือรายสถาบันการเงิน?, นับรวมทุกบัญชีหรือรายบัญชี? • กรณีบัตรเครดิต นับตามรอบนำส่งหรือรายครั้ง • กรณีเปิดบัญชีร่วม จะนับจำนวนครั้งการรับ-โอนอย่างไร • เริ่มนับข้อมูลการรับโอน-ฝากเงิน เมื่อใด? • การควบคุมบัญชีธนาคารโดยการปิดบัญชีก่อนข้อมูลถึงเกณฑ์ สรรพากรจะไม่ตรวจสอบ จริงหรือ? • การเปิดบัญชีหลายธนาคารเพื่อกระจายรายได้ไม่ให้ถึงเกณฑ์ จะปลอดภัยจากสรรพากรจริงหรือไม่ • ใคร? ที่จะถูกนำส่งข้อมูลธุรกรรมทางการเงินให้สรรพากร บุคคลธรรมดา, นิติบุคคล • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลผู้เสียภาษี • ประเด็นการตรวจอบย้อนหลังของสรรพากร • ข้อมูลอื่นนอกจากการรับ-โอนเงินที่สรรพากรสามารถตรวจสอบได้ • บทลงโทษกรณีไม่นำส่งข้อมูลให้สรรพากร • ความเชื่อมโยงกันของการนำส่งข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะกับเงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
3. e-Tax Invoice & e-Receipt • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษาใบกำกับภาษีในรูปแบบ e-Tax Invoice, e-Receipt • การยื่นรายการและเอกสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ • ประโยชน์ของ e-Tax Invoice & e-Receipt เพื่อช่วยลดปัญหาการปฏิเสธความรับผิดระหว่างคู่ค้า
4. e–Withholding Tax • สาระสำคัญของภาษีหัก ณ ที่จ่าย อิเล็กทรอนิกส์ (e-Withholding Tax) • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเข้าสู่ระบบ e-Withholding Tax • วิธีการนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย และภาษีมูลค่าเพิ่มในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านตัวกลาง • อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย ใครเป็นผู้กำหนด • ปัญหาและวิธีการแจ้งข้อมูลให้ธนาคารหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องทำอย่างไร? • กรณีบุคคลธรรมดาจ่ายจะทราบได้อย่างไร ว่าต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเท่าไหร่ โดยวิธีใด • ความเหมือนและความแตกต่างการหักภาษี ณ ที่จ่ายของบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล • กรณีหักภาษี ณ ที่จ่ายผิด ใครเป็นผู้รับผิดชอบ • ความแตกต่างการหักภาษี ณ ที่จ่ายผ่านระบบ e-Withholding Tax กับระบบกระดาษ ประเด็นเรื่องจุดตัดความรับผิด ในการหักภาษี ณ ที่จ่ายของทั้งผู้จ่ายและผู้รับ • e-Withholding Tax ดีต่อกิจการอย่างไร?
5. e-Filing • UPDATE การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
6. การวางแผนเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกิจการจากกฎหมาย e–Payment • ลดความยุ่งยากในการจัดเก็บและตรวจสอบเอกสารเมื่อสรรพากรเรียกตรวจย้อนหลัง • ลดต้นทุนในการประกอบกิจการ • กิจการสามารถใช้ระบบกระดาษและระบบ e-payment ควบคู่กันได้หรือไม่ มีแนวทางปฏิบัติอย่างไร
7. เจาะประเด็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อกิจการเมื่อสรรพากรนำกฎหมาย e–Payment มาใช้ในการจัดเก็บภาษี
8. แนวทางการตรวจสอบและวิธีการจัดเก็บภาษีตามกฎหมาย e–Payment ที่ผู้ประกอบการและนักบัญชีต้องทราบ • การนำข้อมูลมาประมวลผลและประเมินเพื่อแบ่งกลุ่มผู้ประกอบการอย่างไรอยู่ในเกณฑ์เสี่ยง? • การเตรียมรับมือและแนวทางการชี้แจงต่อสรรพากรเมื่อกิจการอยู่ในเกณฑ์เสี่ยง ทำอย่างไรให้ถูกต้องและปลอดภัย
|