สาระสำคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่าย HR ต้องรู้
• ปรับขึ้น!! อัตราค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศ บังคับใช้ 1 ม.ค. 2567 • มาตรา 23/1 การทำงานนอกสถานประกอบกิจการ หรือนอกสำนักงานของนายจ้าง • เมื่อถึงเวลาสิ้นสุดการทำงานปกติตามที่นายจ้างและลูกจ้างได้ตกลงกันลูกจ้างสามารถปฎิเสธ การติดต่อสื่อสารกับนายจ้างได้หรือไม่ ? • คำพิพากษาฎีกาที่เกี่ยวข้อง ในการใช้กฎหมายแรงงาน สำหรับการบริหารงานบุคคล ที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ในการฟ้องร้องคดี
บรรยายโดย วิทยากรผู้ทรงคุณ
หัวข้อสัมมนา
1.หลักเกณฑ์สำคัญเกี่ยวกับ พรบ.คุ้มครองแรงงานฉบับที่ 8
• มาตรา 23/1 การทำงานนอกสถานประกอบกิจการ หรือนอกสำนักงานของนายจ้าง
• การจัดทำหนังสือหรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กรณีลูกจ้างทำงานนอกสถานประกอบกิจการ หรือนอกสำนักงานของนายจ้าง ควรมีรายละเอียดใดบ้าง ?
• เมื่อถึงเวลาสิ้นสุดการทำงานปกติตามที่นายจ้างและลูกจ้างได้ตกลงกัน ลูกจ้างสามารถปฎิเสธการติดต่อสื่อสารกับนายจ้างได้หรือไม่ ?
• หากนายจ้างจำเป็นต้องติดต่อสื่อสารกับลูกจ้างหลังเวลาสิ้นสุดการทำงานปกติต้องทำอย่างไร ?
• สิทธิต่างๆที่ลูกจ้างจะได้รับ
2.สาระสำคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้างและฝ่ายบุลคล (HR) ต้องรู้
3. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารตามกฎหมายแรงงาน
• การมอบหมายงานในหน้าท่ี่
• คำสั่งโยกย้ายตำแหน่งหน้าที่
4. การกำหนดวัน เวลาทำงาน • เวลาทำงานปกติ (regular working times) • เวลาพัก (Rest period) • วันหยุดประจำสัปดาห์ (Weekly holiday) • วันหยุดตามประเพณี (Traditional holidays) • วันหยุดพักผ่อนประจำปี (Annual Vacation) • วันลา (Leave for absence)
5. เทคนิคการใช้ข้อบังคับในการทำงาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลง สภาพการจ้างจะต้องปฏิบัติอย่างไร? • กรณีนายจ้างแก้ไขสภาพการจ้างฝ่ายเดียวทำได้หรือไม่
6. ค่าจ้าง (Wage) จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์อะไรบ้าง • องค์ประกอบสำคัญของคำว่า “ค่าจ้าง” • หลักเกณฑ์การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด (รวมทั้งกรณีเป็นลูกจ้างรายวันและรายเดือน)
7. การดำเนินการลงโทษทางวินัย จะต้องพิจารณาและมีขั้นตอน อย่างไร? • กรณีลูกจ้างกระทำผิดร้ายแรงและกระทำผิดไม่ร้ายแรง แตกต่างกันอย่างไร? และมีประเด็นใดในการพิจารณา • ขั้นตอนในการลงโทษทางวินัยที่ถูกต้องตามกฎหมาย
8. กรณีลูกจ้างเกษียณอายุ • หลักเกณฑ์การเกษียณอายุจะต้องเขียนในระเบียบข้อบังคับการทำงานหรือไม่ • กรณีมีการจ้างงานหลังเกษียณอายุจะต้องจ่ายค่าชดเชย ก่อนหรือหลังจากการเริ่มงานใหม่ • กรณีลูกจ้าง “เสียชีวิต” หลังจากการจ้างงานต่อจากการเกษียณอายุนายจ้างจะต้องทำอย่างไร?
|