ประเด็นการตรวจสอบ Post Review และ Post Audit จากเจ้าหน้าที่ศุลกากร และเทคนิคการใช้สิทธิโต้แย้ง

รหัสหลักสูตร : 21/8626

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,173 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,922 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

ประเด็นการตรวจสอบ Post Review และ Post Audit จากเจ้าหน้าที่ศุลกากร และเทคนิคการใช้สิทธิโต้แย้ง

หัวข้อสัมมนา

1. การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Audit) ของเจ้าหน้าที่ศุลกากรจะตรวจสอบอะไรบ้าง
2. อำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ศุลกากรในการตรวจสอบมีขอบเขตอย่างไร
3. หลักการทบทวนหลังการตรวจปล่อย (Post Review) ของเจ้าหน้าที่ศุลกากรเป็นอย่างไร
4. ประเด็นการตรวจสอบแบบ Post Review
- การตรวจสอบใบขนสินค้าขาเข้าเจ้าหน้าที่ศุลกากรจะตรวจสอบใบขนทุกใบหรือไม่ อย่างไร
- การตรวจสอบการสำแดงใบขนสินค้าขาเข้ากับบัญชีสินค้า
- การตรวจสอบการทำพิธีการศุลกากร
- การตรวจสอบเอกสารการอนุญาตนำเข้าหรือส่งออก
- การตรวจสอบว่าเป็นของต้องห้ามหรือต้องกำกัดหรือไม่
- การตรวจสอบพิกัด
- การตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มว่าเสียถูกต้องหรือไม่
- การตรวจสอบอัตราแลกเปลี่ยนประเมินราคา
- การคำนวณเงินค่าภาษีและค่าธรรมเนียมแต่ละรายการว่าถูกต้องหรือไม่
5. ประเด็นที่เจ้าหน้าที่ศุลกากรจะใช้ตรวจสอบแบบ Post Audit
- ประเด็นเกี่ยวกับการรับเงินจ่ายเงิน
- การตรวจสอบใบอนุญาตในการนำเข้า-ส่งออก
- เอกสารการชำระเงิน
- บัญชีราคาสินค้า ใบเสนอราคา
- สัญญา
- จดหมายโต้ตอบ
- ข้อตกลงเรื่องค่าสิทธิ ลิขสิทธิ์
- การลงบัญชีสินค้า
- รายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย
- วิธีการคำนวณต้นทุนของสินค้า
- เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
6. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่พบว่าบริษัททำผิดจะมีโทษอย่างไร
- จะถูกประเมินภาษีเลยหรือไม่อย่างไร ทั้งกรณี Post Review และ Post Audit
7. การจัดเก็บเอกสารของผู้ประกอบการต้องเก็บกี่ปี
8. วิธีการเลือกกลุ่มเป้าหมายในการเข้าไปตรวจสอบ
9. เทคนิคการใช้สิทธิโต้แย้งเจ้าหน้าที่ศุลกากร
10. พ.ร.บ. ศุลกากร 2560 มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การ Post Review และ Post Audit อย่างไรบ้าง
11. การปรับปรุงการจ่ายเงินสินบนและรางวัลส่งผลดีต่อผู้ประกอบการอย่างไร
12. Transfer Pricing Adjustment (การปรับราคาโอน) มีผลต่อการ Post Audit อย่างไร
13. การบริหารความเสี่ยงกรณี Post Review และ Post Audit ควรเริ่มอย่างไร
14. ประเด็นการพิจารณาความผิดการดำเนินคดีตามกฎหมายศุลกากรและการระงับคดีในชั้นศุลกากร
15. ผู้เสียภาษีมีสิทธิอย่างไรในการโต้แย้งการใช้ “ดุลพินิจ”ในการประเมินราคาศุลกากรพิกัดอัตราศุลกากรเทคนิคและปัญหาในชั้นอุทธรณ์คัดค้านการประเมินอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์กรมศุลกากร
16. ภาพรวมของประเด็นความผิดทางภาษีศุลกากรและโทษที่ได้รับ
17. การดำเนินคดีและหลักเกณฑ์พิจารณาคดีความผิดตามกฎหมายศุลกากร
18. ความผิดที่เกิดจากการสำแดงราคาต่ำ ทำให้อากรขาด
19. ความผิดที่เกิดจากการไม่รวมค่าใช้จ่ายทางอ้อม (เช่นค่าสิทธิ ค่าธรรมเนียมอนุญาต ค่านายหน้า ค่าคนกลางค่าวิศวกรรม ค่าออกแบบ ค่าความช่วยเหลือทางวิชาการและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ) ในราคาซื้อขายของที่นำเข้า
20. ความผิดที่เกิดจากการสำแดงพิกัดอัตราศุลกากรผิด/FTA ผิดทำให้อากรขาด
21. ความผิดที่เกิดจากการหลีกเลี่ยงข้อห้ามข้อกำกัด เช่นการนำเข้าโดยไม่มีใบอนุญาตนำเข้า/ส่งออกอย่างถูกต้อง
22. ความผิดที่เกิดจากการลักลอบนำเข้าของและกรณีของซุกซ่อน
23. เปรียบเทียบการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย (Post Audit) วิธีการ Post Audit ของกรมศุลกากรและการตรวจสอบโดยวิธีสมัครใจ (Voluntary Audit)
24. ข้อแนะนำและวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในขณะที่ถูก Post Audit จากเจ้าหน้าที่ศุลกากร
25. การขอรับคำวินิจฉัยพิกัดอัตราศุลกากร ราคาศุลกากรและแหล่งกำเนิดสินค้ามีผลต่อการ Post Review และ Post Audit อย่างไร
26. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยายบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์วิชัย มากวัฒนสุข

สถานที่

โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ถ.สุขุมวิท ซ.11
ถนน สุขุมวิท แขวง คลองเตยเหนือ เขต วัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีนานา ทางออกที่ 3 (เดิน 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba