ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับนักบัญชี

รหัสหลักสูตร : 21/91135/7

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 963 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 963 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับนักบัญชีภาษีอากร ระยะเวลาการอบรม

• เข้าใช้งานได้ 60 วัน (นับจากวันที่เปิดระบบให้เข้าอบรม) การนับชั่วโมง

• CPD : อื่นๆ 7 ชั่วโมง • CPA : อื่นๆ 7 ชั่วโมง หนังสือรับรอง

• อบรมจบรับหนังสือรับรองผ่านระบบได้ทันที เนื้อหาหลักสูตร

• เนื้อหาทั้งหมด จำนวน 9 บทเรียน • ความยาว 7 ชั่วโมง 2 นาที แบบทดสอบ

• จำนวนข้อสอบ 35 ข้อ • ได้รับคะแนน 21 ข้อขึ้นไปถือว่าผ่านหลักเกณฑ์การอบรม

• มีสิทธิสอบ 2 ครั้ง(กรณีไม่ผ่านในครั้งแรก) เอกสารประกอบการอบรม

• สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่หน้าวีดีโอการอบรม อุปกรณ์การเข้าใช้งาน

• สามารถอบรมผ่าน PC, Notebook, Smartphone หรือ Tablet

 

รายละเอียดหลักสูตร

บทที่ 1 ระยะเวลา 34 นาที

          กำไรสุทธิทาง “บัญชีภาษีอากร”

              -ความแตกต่างของหลักเกฑณ์ทางบัญชีกับเงื่อนไขทางภาษีอากร -หลักเกณฑ์การตั้งภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (Deferred Tax)

บทที่ 2 ระยะเวลา 54 นาที

          เกณฑ์การรับรู้รายได้-รายจ่ายในการเสียภาษี

บทที่ 3 ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 2 นาที

          ประเด็นปัญหาด้านการคำนวณรายได้

               -การจำแนกประเภทรายได้ทางภาษีที่ต้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธิ

               -รายได้ที่ได้รับยกเว้น: สิทธิประโยชน์ด้านรายได้ -รายได้รับล่วงหน้า-รายได้ค้างรับ

              -กรณีนำรายได้มาคำนวณภาษีไม่ครบถ้วน : ปํญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไข

              -รายได้ที่มักเป็นประเด็นถูกประเมินเพิ่มขึ้น -การถ่ายโอนกำไร/การตั้งราคาโอน (Transfer Pricing)

บทที่ 4 ระยะเวลา 19 นาที

          รายจ่ายในการคำนวณเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

              -หลักเกณฑ์และเงื่อนไขรายจ่ายที่กฎหมายยอมให้หักเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ 

              -หลักเกณฑ์และเงื่อนไขรายจ่ายต้องห้าม ที่ต้องบวกกลับทางภาษี

              -รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี ที่มักพบในทางปฏิบัติ และข้อควรต้องระวัง

              -รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น : สิทธิประโยชน์ด้านรายจ่าย

บทที่ 5 ระยะเวลา 30 นาที

           การหักค่าเสื่อมและค่าสึกหรอทรัพย์สิน

                  -หลักเกณฑ์และวิธีการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อม

                 -ทรัพย์สินที่สูญหาย ที่จะทำลาย ที่จะขายต่ำกว่าราคาตลาด หรือราคาทุน เพราะเหตุชำรุด

                 -ทรัพย์สินของกิจการแต่อยู่บ้านกรรมการนักบัญชีจะทำอย่างไร

                 -ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน ที่ต้องปรับปรุง

                 -รถยนต์กระบะ 4 ประตู (Double cab) : รถยนต์นังหรือรถบรรทุก

บทที่ 6 ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 58 นาที

          หลักเกณฑ์การตัดหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ที่มีผลใช้บังคับย้อนหลังไปถึงวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 7 ระยะเวลา 24 นาที

           การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และหนี้สิน

                -การตีราคาทรัพย์สินทั่วไป -การตีราคาสินค้าคงเหลือ

                -การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สินหรือหนี้สินที่มีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ

บทที่ 8 ระยะเวลา 8 นาที

               การประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีกลางปี ภ.ง.ด.51

               -กรณีเช่นไรที่ถือเป็นการประมาณการกำไรสุทธิขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25 

               -เหตุอันสมควรตามแนวทางปฏิบัตของกรมสรรพากรที่ไม่ต้องเสียเงินเพิ่มจากการประมาณกำไรสุทธิคลาดเคลื่อน

บทที่ 9 ระยะเวลา 13 นาที

              การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้นปี ภ.ง.ด.50

             -การใช้ขาดทุนสะสมของกิจการ

             -รายการที่ต้องระวังในการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ที่มักพบความผิดพลาด

            -การใช้เครดิตภาษี และการขอคืนภาษี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 7:0 0:0 7:0

วิทยากร

อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

สถานที่

การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (e-Learning)
โทรศัพท์ :
02-555-0930,02-555-0932 หรือ 02-555-0700 กด 1
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba