• พลาดไม่ได้กับการ Update หลักเกณฑ์ใหม่ของ 23 ตราสารที่ต้องเสียเป็นตัวเงินเท่านั้น • หลักเกณฑ์และขั้นตอนการขอชำระอากรเป็นตัวเงินสําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ • วิธีการขอรหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์ เอกสารหลักฐาน และใบเสร็จรับเงิน • Highlight เด็ด กับการเคลียร์ 28 สัญญาที่ต้องเสียอากรแสตมป์ • Top Case Studies กับปัญหาจริงที่นักบัญชีต้องพบกับการติดอากรแสตมป์ • ปรับ 5 เท่า จากการเสียอากรแสตมป์ ไม่ถูกต้อง จุดที่ต้องระวัง
วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
*** อากรแสตมป์ กับ 28 สัญญาพร้อมเจาะลึกปัญหา และวิธีการแก้ไข
1. อากรแสตมป์คืออะไร มีกี่ประเภท มีความสำคัญอย่างไรกับธุรกิจ
2. ตราสารมีความหมายครอบคลุมเพียงใด แล้วตราสารใดต้องเสียอากรแสตมป์
3. Highlight เด็ด!!! กับการเคลียร์ 28 ตราสาร (สัญญา) ที่ต้องเสียอากรแสตมป์ที่นักบัญชีต้องรู้ และเทคนิคการดูสัญญาจากผู้เชี่ยวชาญที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ไม่ต้องเสียอากรแสตมป์ - จุดสังเกตของสัญญาที่นักบัญชีสงสัยว่าต้องเสียอากรแสตมป์หรือไม่
4. พลาดไม่ได้!!! กับการ Update หลักเกณฑ์ใหม่ของตราสารที่ต้องเสียเป็นตัวเงินพร้อมผลเสียหายที่นักบัญชีต้องรู้เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น - ถ้ายังใช้หลักเกณฑ์เก่าผลเป็นอย่างไร ทั้งในแง่คดี และการขอคืนอากรแสตมป์ - ชี้จุดแตกต่างระหว่างหลักเกณฑ์เก่า VS หลักเกณฑ์ ใหม่ สิ่งใดที่ใช้บังคับไม่ได้แล้ว
5. ใครมีหน้าที่เสียอากรแสตมป์ และเสียในอัตราเท่าไร มีข้อยกเว้นอย่างไร - ถ้าเสียไม่ครบ เสียเพิ่มภายหลังได้หรือไม่ มีผลอย่างไรต่อธุรกิจ - กฎหมายยอมให้คู่สัญญาตกลงเปลี่ยนแปลงหน้าที่ในการเสียอากรแสตมป์ได้หรือไม่
6. อย่างไรคือการปิดแสตมป์บริบูรณ์ หากปิดแสตมป์ไม่บริบูรณ์จะมีผลอย่างไร แล้วใครต้องรับผิด *** การเสียอากรแสตมป์ กรณีแสตมป์ปิดทับมีวิธีการอย่างไร - การขีดฆ่าอากรแสตมป์คืออะไร พร้อมเทคนิคที่แม้มิได้ทำตามกฎหมายแต่ศาลยอมรับว่ามีการขีดฆ่าแล้ว *** การเสียอากรแสตมป์ กรณีชำระเป็นตัวเงิน - ตราสารที่ไม่ได้ถูกกำหนดให้เสียเป็นตัวเงิน นำไปชำระเป็นตัวเงินได้หรือไม่ - ตราสารใดใช้แสตมป์ปิดทับไม่ได้โดยเด็ดขาด!!! หากฝ่าฝืนเป็นอย่างไร
7. ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องปิดอากรแสตมป์มีอะไรบ้าง
8. ความรับผิดของการไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ และการไม่ออกใบรับมีอะไรบ้างที่นักบัญชีต้องทราบ - เสียเงินเพิ่มอากร และเบี้ยปรับ - การขอลดอากรสิทธิไล่เบี้ยเงินค่าอากร - การใช้ตราสารเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง สิ่งที่ระวังเป็นพิเศษ!!! - ผู้ทำบัญชีต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่ทั้ง กรณีที่เจตนาและไม่เจตนา
9. การวางแผนภาษีเกี่ยวกับการปิดอากรแสตมป์ - ปิดอากรย้อนหลัง - ปิดแต่ไม่ขีดฆ่า - ซื้ออากรไว้แต่ยังไม่ปิด - การทำสัญญาที่ต่างประเทศโดยไม่นำสัญญากลับมาในไทย สรรพากรจะเชื่อหรือไม่
**** การชำระอากรแสตมป์เป็นตัวเงิน กับ 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมเทคนิคทำอย่างไรไม่เสียค่าปรับ และเงินเพิ่ม
1. ตราสา ส์ อย่างไรคือตราสารอิเล็กทรอนิกส์
2. ความหมายของ “รหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์”
3. ใครคือ ผู้ขอใช้บริการ, ผู้ให้บริการตามกฎหมาย และผู้เสียภาษีเป็นผู้ให้บริการเองได้หรือไม่
4. 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่ต้องชำระค่าอากรเป็นตัวเงินตามกฎหมาย - สัญญาเช่าที่ดิน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือแพ - โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตร และใบรับรองหนี้ที่บริษัท สมาคม คณะบุคคล หรือองค์กรใด ๆเป็นผู้ออกให้ - สัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน - สัญญาจ้างทำของ - สัญญากู้ยืม หรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคาร - กรมธรรม์ประกันภัย - ใบมอบอำนาจ - ใบมอบฉันทะสำหรับให้ลงมติในที่ประชุมบริษัท - ตั๋วแลกเงินหรือตราสารทำนองเดียวกับตั๋วแลกเงิน และตั๋วสัญญาใช้เงินหรือตราสารทำนองเดียวกับตั๋วสัญญาใช้เงิน - บิลออฟเลดิง - ใบหุ้นหรือใบหุ้นกู้ - เช็ค หรือหนังสือคำสั่งใดๆซึ่งใช้แทนเช็ค - ใบรับฝากเงินประเภทประจำของธนาคาร โดยมีดอกเบี้ย - เลตเตอร์ออฟเครดิต - เช็คสำหรับผู้เดินทาง - ใบรับของ - สัญญาค้ำประกัน - สัญญาจำนำ - ใบรับของคลังสินค้า - คำสั่งให้ส่งมอบของ - สัญญาตัวแทน - หนังสือสัญญาห้างหุ้นส่วน - ใบรับสำหรับการขาย ขายฝาก ให้เช่าซื้อ หรือโอนกรมสิทธิ์ยานพาหนะ
5. 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ กรณีสัญญาที่ทำขึ้นก่อนกฎหมายบังคับ และสิ้นสุดภายหลังที่กฎหมายบังคับใช้จะต้องเสียอากรอย่างไร
6. หลักเกณฑ์และขั้นตอนการขอชำระอากรเป็นตัวเงิน สำหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ - การยื่นขอเสียอากรแสตมป์เป็นตัวเงิน (อ.ส.9) - วิธีการเข้าสู่ระบบ/ การกรอกและนำส่งข้อมูล/ การชำระเงิน - การตรวจสอบการเสียภาษีจะทราบได้อย่างไรว่าตราสารอิเล็กทรอนิกส์ใดได้ชำระอากรแสตมป์แล้ว - การยื่นเสียอากรเพิ่มเติม และการยื่นชำระเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม 7. วิธีการขอเอกสารหลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน และรหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์
8. กรณีผลักภาระในการเสียอากรสำหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องเสียอากรอย่างไร
9. ต้นฉบับและคู่ฉบับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ ต้องเสียภาษีพร้อมกันหรือไม่ ทำแทนคู่สัญญาได้หรือไม่
10. กำหนดเวลายื่นก่อนกระทำตราสาร 15 วันนับจากวันใด
11. Top Case Studies ปัญหาจริงที่นักบัญชีต้องพบกับอากรแสตมป์ พร้อมแนะจุดใดต้องระวังเป็นพิเศษ!!! - ตราสาร 1 ฉบับ แต่มีข้อตกลงหลายประเภท มีวิธีการเสียอากรอย่างไร - ปัญหาความแตกต่างระหว่างต้นฉบับกับคู่ฉบับ * ใครเป็นผู้เก็บต้นฉบับ/คู่ฉบับ * สำเนาต้องติดอากรแสตมป์หรือไม่ - ทำสัญญากับรัฐวิสาหกิจต้องปิดอากรแสตมป์หรือไม่ - ตราสารที่ทำขึ้นในต่างประเทศ ต้องเสียอากรในไทยหรือไม่ มีความแตกต่างในการปิดอากรแสตมป์หรือไม่อย่างไร และใครต้องเป็นผู้ปิดอากร - ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับการชำระอากรเป็นตัวเงินในสัญญาจ้างทำของกรณีจ้างที่ปรึกษา อย่างไรเรียกว่าผลสำเร็จของงาน - การปิดอากรแสตมป์ผิดวิธีที่กฎหมายกำหนดผลเป็นอย่างไร - เดิมไม่ได้เสีย เสียไม่ครบ หรือเสียผิดวิธี จะปิดอากรย้อนหลังได้หรือไม่หรือ จะแก้ไขให้ถูกต้องด้วยวิธีใด ภายในกำหนดเวลาเท่าไร
12. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่สรรพากรที่นักบัญชีต้องรู้ในการตรวจสอบสัญญาและอากรแสตมป์
13. การขอคืนอากรแสตมป์มีวิธีการอย่างไร หากไม่พอใจ สามารถอุทธรณ์ได้ทุกกรณีหรือไม่
14. สรุปฎีกาสำคัญที่เกี่ยวกับอากรแสตมป์ พร้อมถาม-ตอบปัญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงในคดีจากผู้เชี่ยวชาญ - ตัวอย่างสัญญาที่ใช้เปรียบเทียบกันเพื่อให้เสียอากรแสตมป์ได้อย่างถูกต้อง
เงื่อนไขการเข้าอบรม 1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User 2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที 3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน 4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand) หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม 5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 3 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม
** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **
|