- การตรวจสอบ Transfer Pricing ในปี 2566
- ประเด็นการตรวจสอบ Disclosure Form ของสรรพากร
- ประเด็นการถูกปรับกรณีไม่ยื่น Disclosure Form/ไม่รู้ตัวว่าต้องยื่น
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านการตรวจสอบราคาโอน Transfer Pricing
หัวข้อสัมมนา
1. การตรวจสอบ Transfer Pricing ในปี 2566
2. ประเด็นการตรวจสอบ Disclosure Form ของสรรพากร
3. ราคาโอน Transfer Pricing ตามความหมายของประมวลรัษฎากร
4. นิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันที่มักจะถูกตรวจสอบ เกี่ยวกับการกำหนดราคาโอน - การถือหุ้น 50% สรรพากรมองอย่างไร - การถือหุ้นทางตรงกับทางอ้อมสรรพากรจะนำมานับรวมกันเพื่อถือว่าถึง 50 % หรือไม่ - การควบคุมที่สรรพากรจะมองว่าเป็นนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน
5. กิจการขนาดใหญ่มักจะถูกตรวจสอบเรื่องราคาโอนจริงหรือไม่
6. ประเด็นที่สรรพากรมักตรวจสอบ การกำหนดราคา Transfer Pricing ทั้งที่เป็นกิจการในไทย และระหว่างประเทศ - การขายสินค้าที่เรียกเก็บจากบริษัทแม่หรือถูกเรียกเก็บจากบริษัทแม่ สูงหรือต่ำกว่าราคาตลาด - การจ่ายเงินค่าบริการแทนบริษัทในเครือแล้วเรียกเก็บคืน อยู่ในข่ายต้องถูกตรวจสอบเรื่องราคาโอนหรือไม่ - จ่ายค่าที่ปรึกษาให้กรรมการ - เงินเดือนกรรมการที่จ่ายให้กับบริษัทแม่ - จ่ายค่า Management Fee ให้กับบริษัทแม่ - การจัดตั้งบริษัทที่อยู่ในเขตปลอดภาษี Tax Havens จะเป็นประเด็นในการตรวจสอบหรือไม่ - การให้กู้ยืมโดยติดดอกเบี้ยสูงหรือต่ำกว่าบริษัททั่วไป - การจ่ายเงินปันผล/ส่วนแบ่งกำไรไปให้บริษัทแม่ - การโอนสินค้าแทนการชำระหนี้ - การจ่ายค่าเช่าระหว่างกัน - ประเด็นการจ่าย Cost Sharing ระหว่างกัน - กรณีจ่ายค่าสินค้าหรือบริการสูงกว่าบริษัททั่ว ๆไปส่วนต่างสรรพากรจะมองเป็น Deemed Dividend หรือไม่
7. ประเด็นการจ่ายค่าสิทธิหรือทรัพย์สินไม่มีตัวตนที่สรรพากรมักเพ่งเล็งเกี่ยวกับการทำ Transfer Pricing - Trademark/Trade name/Brand name - เครื่องหมายรับรอง (Certification marks) - Brand development - Human capital - Advertising agreements - การจ่ายค่า Franchise - Customer relationship/Customer lists/Customer satisfaction/Customer loyalty - การจ่ายสิทธิในการผลิตแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย - การจ่ายค่าสิทธิในการขายสินค้าในประเทศไทยแต่เพียงผู้เดียว - การจ่ายค่าใช้ข้อมูล Data bases ให้แก่บริษัทที่มีความสัมพันธ์กัน - การจ่ายค่า Designs - จ่ายค่าใช้ Softwares - การจ่ายค่า Copyright protection
8. การตรวจสอบวิธีการหาช่วงราคา Benchmarking ของผู้ประกอบการสรรพากรจะตรวจสอบอย่างไร
9. แนวทางการแก้ไขเมื่อสรรพากรให้ปรับรายได้และรายจ่าย - กรณีสรรพากรให้ปรับรายจ่ายที่สูงกว่าความเป็นจริงหรือต่ำกว่าความเป็นจริงจะมีผลกับภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ - การให้กู้ยืมที่สรรพากรไม่ยอมรับในอัตราที่สูงหรือต่ำไปจะกระทบกับภาษีธุรกิจเฉพาะหรือไม่ - กรณีสรรพากรให้บริษัทในไทยปรับรายจ่ายและรายได้ บริษัทแม่ที่ต่างประเทศสามารถปรับได้ด้วยหรือไม่
10. การจัดทำข้อตกลงการกำหนดราคาเป็นการล่วงหน้า (Advanced Pricing Arrangement : APA) สรรพากรจะยังตรวจสอบหรือไม่ - ข้อดีของการทำข้อตกลง - เอกสารที่ต้องเตรียม
|