วิทยากรโดย ดร.นพ.ยุทธนา ภาระนันท์
หัวข้อสัมมนา1. ภาวะทางจิตใจที่ทำให้เกิด Syndrome ในการทำงาน2. เพิ่มคุณค่าในการทำงานด้วยการทำความรู้จักตนเอง - เข้าใจผู้อื่น3. ประเมินพฤติกรรมตนเอง คุณมีภาวะ Syndrome หรือไม่4. ภาวะ Syndrome ที่เกิดขึ้นบ่อยในที่ทำงาน พร้อมวิธีการรับมือและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1 Imposter syndrome (ภาวะการบั่นทอนตัวเอง) • ทำอย่างไรเมื่อรู้สึกว่า “ตัวเองไม่เก่งพอ” • สาเหตุของความตั้งใจหยุดความสำเร็จของตัวเอง และวิธีการแก้ไข 4.2 Superman syndrome / Workplace martyr syndrome (ภาวะการเสียสละเกินพอดี) • ข้อดี/ข้อเสียของ “การเสียสละในการทำงาน” • เสียสละอย่างไรไม่ให้กดดันตัวเอง • ทำถูกหรือไม่ เมื่อไม่ไว้ใจเพื่อนร่วมงาน เอางานของเพื่อนมาจัดการเอง • How to หยุดคิดว่าการขอความช่วยเหลือทำให้คุณดูไร้ความสามารถ 4.3 Duck syndrome (ภาวะเหน็ดเหนื่อยของคนที่ปากบอกไหว) • ลักษณะของคนประเภท Duck syndrome • ทำอย่างไรเมื่อ “ปากบอกไหวแต่ใจเหนื่อย” 4.4 Tall poppy syndrome (ภาวะของคนที่โดดเด่นจนเป็นภัยกับตัวเอง) • โดดเด่นอย่างไรไม่ให้แปลกแยกและเสียความมั่นใจในตัวเอง • การบริหารทีมงานแบบ Grow together 4.5 Toxic boss syndrome / Queen bee syndrome (ภาวะหัวหน้างาน Toxic) • ลักษณะของหัวหน้างานประเภท Toxic boss และ Queen bee • หัวน้างานเป็นพิษ หรือเราคิดไปเอง • เทคนิคการรับมือและทำงานร่วมกับ Toxic Boss และ Queen bee 4.6 Workplace violence syndrome (ภาวะความรุนแรงในที่ทำงาน) • ลักษณะ “ความรุนแรงในสถานที่ทำงาน” ที่มักเกิดขึ้น • เราจะหยุดความรุนแรงในที่ทำงานได้อย่างไร 4.7 Ostrich syndrome (ภาวะการหนีปัญหา) • ลักษณะของ “คนชอบหนีปัญหา” • เหตุผลของการหนีปัญหา • เทคนิคการเผชิญหน้ากับปัญหา พร้อมวิธีการแก้ไข 4.8 Guilty vacation syndrome (ภาวะรู้สึกผิดในวันหยุดพักผ่อน) • การจัดการความคิด “หยุดงานอย่างไรให้ไม่รู้สึกผิด” • วิธีสร้าง Work-Life Balance อย่างมีประสิทธิภาพ 4.9 Post-vacation syndrome (ภาวะซึมเศร้าหลังวันหยุด) • การขจัด “อาการซึมเศร้าหลังวันหยุด” • สร้างแรงจูงใจในการทำงานอย่างไร 4.10 Workplace stress syndrome (ภาวะความเครียดในที่ทำงาน) • ปัจจัยที่ก่อให้เกิด “ความเครียดในที่ทำงาน” • เทคนิคการลดความเครียดและความกดดันด้วยตัวเอง 4.11 Brain fog syndrome (ภาวะสมองล้า) • สัญญาณเตือนภาวะสมองล้า ภัยเงียบของคนทำงานที่ไม่ควรมองข้าม • สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะสมองล้า และวิธีฟื้นฟูให้สมองล้ากลับมาแข็งแรง 4.12 Survivor syndrome (ภาวะอารมณ์เมื่อรอดจากการเลิกจ้าง) • ผลกระทบทางจิตใจเมื่อบริษัทมีนโยบายลดพนักงาน • อยู่อย่างไร เมื่อเพื่อนไป แต่เรารอด 4.13 Pin-Drop syndrome (ภาวะความเงียบในที่ทำงาน) • การสื่อสารอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิด “ภาวะความเงียบในที่ทำงาน” • เทคนิคการกระตุ้นเพื่อให้กล้าแสดงความคิดเห็นในการทำงาน 4.14 Short-timers syndrome (ภาวะการทำงานในระยะเวลากระชั้นชิด) • บริหารงานอย่างไรเมื่อเวลามีจำกัด • เทคนิคการบริหารเวลาและจัดลำดับความสำคัญของงาน 4.15 Karoshi syndrome (ภาวะทำงานหนักจนตาย) • สำรวจ Karoshi syndrome ในตนเอง • เทคนิคป้องกันไม่ใหเกิด Karoshi syndrome • วิธีการเยียวยาเมื่อตกอยู่ในภาวะดังกล่าว5. Group Discussion : อยู่ร่วมกันอย่างไร เมื่อ “เรา-ผู้อื่น” มีภาวะ Syndrome