• หลักสูตรยอดนิยม ที่นักบัญชีเข้าฟังมากที่สุด รวม 5 ภาษี...ที่นักบัญชีต้องรู้!! • ภาษีเงินได้นิติบุคคล, ภาษีมูลค่าเพิ่ม, การหักภาษี ณ ที่จ่าย,การเสียอากรแสตมป์ • Update กฎหมายใหม่ 2566 รวมมาตรการด้านภาษี ที่นักบัญชีต้องทราบ • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย อัตราใหม่!! เหลือ 1% • National e-Payment ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเปลี่ยนแปลงที่นักบัญชีต้องรู้และเตรียมรับมือ • ภาษี e-Service ใครบ้าง? ต้องเสียภาษี • หลักเกณฑ์การใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามหลักเกณฑ์ใหม่ • ประเด็นความรับผิดที่ผู้ทำบัญชีต้องระวัง
วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
Update กฎหมายใหม่ที่ผู้ทำบัญชีต้องทราบ
1. นโยบายและกฎหมายภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ 2566
2. การเลือกใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีให้ได้ประโยชน์สูงสุด
- สิทธิประโยชน์ทางภาษีลงรายจ่ายเพิ่ม 1 เท่า, 2 เท่า มีอะไรบ้าง - สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการบริจาค - สิทธิประโยชน์ทางภาษีเกี่ยวกับการจ้างคนพิการ * การจ้างคนพิการเข้าทำงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ลงรายจ่ายได้ 2 เท่า, 3 เท่า * กรณีไม่ได้จ้างคนพิการแต่ได้ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เงินที่นำส่งบริจาคจะลงรายจ่ายเพิ่มขึ้นได้หรือไม่ - สิทธิประโยชน์การจ้างผู้สูงอายุเข้าทำงานลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้น
3. Update ประเด็นทางด้านภาษี-บัญชี ที่มีการเปลี่ยนแปลงในยุคใหม่ที่นักบัญชีไม่ควรพลาด
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
1. รายได้ที่ต้องเสียภาษี - รายได้ตามประมวลรัษฎากร - รายได้จากการประกอบธุรกิจ - รายได้จากการดำเนินงาน - การรับรู้รายได้เงินปันผลจากการลงทุน - การรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากการกู้ยืม - รายได้อื่นๆ
2. รายจ่ายที่ใช้ในการคำนวณกำไรสุทธิ - รายจ่ายที่มีลักษณะเป็นการลงทุน - รายจ่ายในการดำเนินกิจการ - รายจ่ายข้ามรอบระยะเวลาบัญชี - รายจ่ายต้องห้าม - การหักค่าเสื่อม ค่าสึกหรอ - การตัดหนี้สูญ - รายจ่ายที่มีค่าใช้จ่ายสูงที่นักบัญชีต้องระวัง เช่น ค่าที่ปรึกษาสูง, ค่าตอบแทนกรรมการที่สูงเกินสมควร - ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงรับรองลูกค้า
3. การจัดทำเอกสารหลักฐานทางบัญชีเพื่อให้ลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ - กรณีที่ผู้รับเงินไม่ยอมออกเอกสารหลักฐานให้ - กรณีที่มีการจ่ายเงินจริงแต่เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนสามารถลงรายจ่ายได้หรือไม่
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
1. การตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มสรรพากร 2. รายได้-รายจ่ายที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และถ้ามีการออกใบกำกับภาษีไปต้องรับผิดหรือไม่ 3. ภาษีซื้อต้องห้ามที่ผู้ทำบัญชีต้องรู้และพลาดไม่ได้ 4. การเฉลี่ยภาษีซื้อ ประเด็นปัญหาและข้อยุ่งยากในทางปฏิบัติ 5. การตรวจสอบและวางระบบงานในการออกและรับใบกำกับภาษี - กรณีผู้ซื้อสินค้า หรือผู้รับบริการ ไม่บอกเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร ต้องออกใบกำกับภาษี อย่างไรให้ถูกต้อง ไม่ถูกสรรพากรเล่นงาน
การหักภาษี ณ ที่จ่าย
1. การหักภาษี ณ ที่จ่ายทั้งระบบตามประมวลรัษฎากร, ความเกี่ยวพันของกฎหมายแต่ละเรื่อง 2. หลักเกณฑ์ในการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากสัญญาและข้อตกลงทางธุรกิจ 3. ความรับผิดกรณีไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย และวิธีแก้ไข - ผู้รับเงินไม่ยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่ายต้องทำอย่างไร
National e-Payment นโยบายโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ที่นักบัญชีต้องรู้และเตรียมรับมือ
1. ระบบ e-Tax Invoice / e- Receipt 2. ระบบ e-Withholding Tax 3. ระบบ e-Filing 4. ระบบ e-Payment 5. ระบบ e-Service 6. ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) 7.อากรแสตมป์ กับ 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Stamp)
ความรับผิดของผู้ทำบัญชี
1. เสียภาษีไม่ถูกต้อง, รายงานไม่ถูกต้อง ผู้ทำบัญชีต้องรับผิดหรือไม่และจำคุกหรือไม่ 2. ก่อนเซ็นงบ ผู้ทำบัญชีต้องตรวจอะไรบ้าง 3. โทษของการใช้ใบกำกับภาษีปลอม ระวัง!!! จำคุก 7 ปี 4. ระวัง! สรรพากรเปิด Web เพิ่มช่องทางแจ้งเบาะแสผู้ที่เสียภาษีไม่ถูกต้อง ผู้ที่หลีกเลี่ยงการเสียภาษี
|