- สิ่งที่ผู้ประกอบการ นักลงทุน นักบัญชีต้องเตรียมตัว - เมื่อประเทศไทยเข้าโครงการตาม BEPS 2.0 จะมีผลอะไรหรือไม่ - ผลกระทบต่อนักลงทุนทั้งในไทยและต่างประเทศจะเป็นอย่างไร - ผลกระทบต่อการกำหนดราคาโอน Transfer Pricing - ประทศที่ได้ทีการนำหลักการ BEPS ไปใช้
วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากร
หัวข้อสัมมนา
1. เมื่อประเทศไทยเห็นชอบร่วมกันกับ OECD ในการจัดเก็บภาษีตามโครงสร้าง BEPS 2.0 จะมีผลกระทบอย่างไรบ้าง - อนุสัญญาภาษีซ้อนจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ 2. ใครบ้างที่จะต้องรู้กฎหมายนี้และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น - บริษัทข้ามชาติทั้งในไทยและต่างประเทศ - กลุ่มผู้ลงทุน 3. ที่มาและการจัดเก็บภาษีตามโครงการ BEPS 2.0 - วิวัฒนาการจาก BEPS 1.0 ทั้ง 15 Action Plans มาเป็น BEPS 2.0 - Pillar 1 การแบ่งสัดส่วนกำไรและจุดเกาะเกี่ยวในการจัดเก็บภาษี - Pillar 2 การกำหนดจัดเก็บภาษีเพิ่มเติม (Top Up Tax) หากเสียภาษีต่ำกว่า 4. Pillar 1 – การแบ่งสัดส่วนกำไรและจุดเกาะเกี่ยวในการจัดเก็บภาษี - ผู้ที่อยู่ในขอบข่ายการเสียภาษีตาม Pillar 1 - หลักในการจัดเก็บภาษี (การคำนวณหา Amount A และAmount B ) - จุดเกาะเกี่ยวและหลักแหล่งที่มาของเงินได้ - การกำหนดและแบ่งส่วนกำไรที่ต้องเสียภาษี
- การขจัดภาษีซ้อนสำหรับการจัดเก็บภาษีจาก Amount A 5. Pillar 2 – Global Minimum Tax (GloBE Rule) - ผู้ที่อยู่ในขอบข่ายการจัดเก็บภาษีตามหลัก GloBE Rule - การจัดเก็บภาษี Top-up Tax ตามหลัก Income Inclusion Rule (IIR) และหลัก Undertaxed Payments Rule (UTPR) - การคำนวณรายได้หรือผลขาดทุนตามหลัก GloBE - การคำนวณหาอัตราภาษีที่แท้จริงและ Top-up Tax - การปรับปรุงโครงสร้างของกิจการและโครงสร้างการถือหุ้น 6. แนวทางการบริหารจัดการทางภาษีของสรรพากรในอนาคตทั้ง Pillar 1 และ Pillar 2 7. ความคืบหน้าของ BEPS 2.0 - จะเริ่มบังคับใช้เมื่อใด ประเทศไทยจะเข้าร่วมหรือไม่ - เมื่อประเทศไทยเข้าร่วมจะมีผลอย่างไร
|