Check ความพร้อมก่อนยื่นแบบ ภ.ง.ด.50
และประเด็นตรวจสอบภาษีที่เกิดขึ้นจริงจากสรรพากร
วิทยากรโดย อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์
หัวข้อสัมมนา
1. ตรวจสอบการบันทึกบัญชี, การออกงบการเงิน2. การกรอกแบบถ้ากรอกผิด แต่ออกงบถูก จะมีผลอย่างไรหรือไม่ สิ่งใดที่สรรพากรเพ่งเล็งเป็นพิเศษ3. จุดผิดพลาดที่สรรพากรมักพบในการกรอกแบบ ภ.ง.ด.504. ข้อควรระมัดระวังในการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50 ที่นักบัญชีต้องรู้และพลาดไม่ได้5. เจาะประเด็นการตรวจสอบรายได้ที่สำคัญและไม่ควรมองข้าม • การบันทึกรายได้ จะต้องพิจารณาและระวังจุดไหนบ้าง เพื่อป้องกันการถูกตรวจสอบจากสรรพากร • ปิดช่องโหว่ ด้วยการทำ Working Paper - การทำ Working Paper มีความสำคัญอย่างไรกับการรับรู้รายได้และช่วยได้จริงหรือไม่หากสรรพากรเรียกตรวจสอบ • รายได้ที่ได้รับยกเว้นตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร แต่บริษัทกลับนำมายื่นเสียภาษี จะมีทางแก้ไขอย่างไร6. ก่อนกรอกแบบ ภ.ง.ด.50 ต้องกระทบยอดใน ภ.ง.ด.50 กับ ภ.พ.30 หรือไม่ • การรับรู้รายได้ใน ภ.ง.ด.50 กับการรับรู้รายได้ใน ภ.พ.30 จำเป็นต้องตรงกันเสมอหรือไม่/ถ้าหากไม่ตรงจะถูกตรวจสอบอย่างไร7. สาเหตุที่การกระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 แล้วมียอดไม่ตรงกัน พร้อมวิธีแก้ไข8. ตรวจสอบการรับรู้รายได้จาการขายสินทรัพย์9. การตรวจสอบการรับรู้รายได้เป็นรายกิจการ • ธุรกิจซื้อมาขายไป • ธุรกิจบริการ • BOI • ธุรกิจเช่าซื้อ • ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ • ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก10. ตรวจสอบการรับรู้รายได้จากอัตราแลกเปลี่ยน11. ตรวจสอบการกรอกดอกเบี้ยรับ กรณีให้กู้ยืมเงินจริงแล้วคิดดอกเบี้ย กับกรณีให้กู้ยืมเงินแต่ไม่คิดดอกเบี้ยสรรพากรดูจากอะไร • การประเมินดอกเบี้ยตามท้องตลาด สรรพากรใช้อัตราเงินฝากหรืออัตราเงินกู้12. ประเด็นที่ต้องระวังในการกรอกต้นทุน สินทรัพย์ หากลงผิดสรรพากรบวกกลับทันที13. ข้อควรระวังในการกรอกผลขาดทุนยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชีของกิจการ BOI และ NON BOI14. ตรวจสอบประเด็น Hot รายจ่ายและรายจ่ายต้องห้าม15. ประเด็นการตรวจสอบค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินและหนี้สูญ ที่นักบัญชีต้องทราบเมื่อกรอกแบบ ภ.ง.ด.5016. 9 เคล็ดลับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.5017. Highlight การกรอกแบบ ภ.ง.ด.50 กรอกอย่างไรจึงรอดและปลอดภัยจากการถูกตรวจสอบจากสรรพากร