โครงการอบรมการเงินสำหรับผู้บริหาร
Finance Management Executives
บรรยายโดย อาจารย์ธนเดช มหโภไคย และ ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์
หัวข้อสัมมนา
SECTION 1 Financial Management for Executives 1. หลักการที่สำคัญเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ 1.1 ภาพรวมของการเงินธุรกิจ - ธุรกิจกับการเงินธุรกิจ - เป้าหมายของธุรกิจในมิติทางการเงิน 1.2 บทบาทและการตัดสินใจด้านการจัดการทางการเงินของธุรกิจ 1.3 การเงินธุรกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน2. หลักการของงบประมาณลงทุน 2.1 ความสำคัญของงบประมาณลงทุน 2.2 การจำแนกประเภทของโครงการลงทุน - การจำแนกประเภทของโครงการลงทุนตามลักษณะของโครงการ - การจำแนกประเภทของโครงการลงทุนตามลักษณะของกระแสเงินสด 2.3 หลักการพิจารณา และกระบวนการพิจารณางบประมาณลงทุน 2.4 เกณฑ์ในการประเมินโครงการลงทุน - ระยะเวลาคืนทุน - ระยะเวลาคืนทุนคิดลด - มูลค่าปัจจุบันสุทธิ - อัตราผลตอบแทนภายใน - ดัชนีวัดความสามารถในการทำกำไร - อัตราผลตอบแทนทางบัญชีถัวเฉลี่ย3. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างเงินทุน 3.1 แนวคิดต้นทุนของเงินทุนและผลต่อโครงสร้างเงินทุน 3.2 การคำนวณต้นทุนของเงินทุน - ต้นทุนของหนี้สิน - ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ - ต้นทุนของกำไรสะสม - ต้นทุนของหุ้นสามัญออกใหม่ 3.3 ต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุน และปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุน - การคำนวณตันทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุน - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุน 3.4 ความเสี่ยงทางธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน - ความเสี่ยงทางธุรกิจและภาระผูกพันจากการดำเนินงาน - ความเสี่ยงทางการเงิน 3.5 ภาระผูกพันทางการเงิน กำไรสุทธิ โครงสร้างเงินทุน และผลต่อราคาหุ้น 3.6 ลักษณะและประเภทของการจ่ายเงินปันผลSECTION 2 Financial Statement Analysis for Executives1.ทำอย่างไรให้เป็นนักบริหารการเงินคุณภาพ 1.1 การค้นหาสัญญาณเตือนภัยของข้อมูลทางการบัญชีในงบการเงิน 1.2 ความสามารถในการทำกำไรในอนาคตของกิจการ 1.3 รายการกำไรที่เกิดจากหลักการบัญชีแบบระมัดระวัง (Conservative Accounting) 1.4 Creative Accounting และคุณภาพกำไร2. การบัญชีและความสำคัญของข้อมูลในการบริหารธุรกิจ 2.1 วงจรการบัญชีและแนวคิดการบันทึกบัญชี 2.2 งบการเงินและประเภทของงบการเงิน - การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน - การวิเคราะห์งบฐานะการเงิน 2.3 การวิเคราะห์อัตราส่วนในงบการเงินไปใช้ในการบริหารงาน - อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) - อัตราส่วนโครงสร้างทางการเงิน (Leverage Ratios) - อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratios) - อัตราส่วนประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ (Assets Management Ratios) - อัตราส่วนมูลค่าทางการตลาด (Marker Value Ratios) 2.4 การวิเคราะห์สภาพคล่องจากเงินทุนหมุนเวียนการจัดการเงินสดและการทำงบประมาณเงินสด - การวิเคราะห์สภาพคล่องจากเงินทุนหมุนเวียน - การจัดการเงินสด - การจัดการเงินลงทุนระยะสั้น - การจัดการลูกหนี้การค้า - การจัดการสินค้าคงเหลือ - การจัดการเจ้าหนี้การค้า 2.5 การวิเคราะห์ Financial Analysis เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ธุรกิจและการแก้ไขปรับปรุงผลการดำเนินงาน - การวิเคราะห์การพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ - การวิเคราะห์การลงทุนใหม่ ๆ เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงาน และทิศทางธุรกิจ - การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่สำคัญของธุรกิจ - การวิเคราะห์การดำเนินธุรกิจของกลุ่มสินค้าหลัก3.การใช้ตัวเลขในงบการเงินมาวิเคราะห์และวางแผนธุรกิจ 3.1 การวิเคราะห์เปรียบเทียบภายในองค์กร - การใช้ผลการดำเนินงานในอดีต - การใช้ข้อมูลในอนาคต (เป้าหมาย) 3.2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบภายนอกองค์กร - ผลการดำเนินงานค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม - ผลการดำเนินงานของคู่แข่งทางการค้า 4. การนําตัวเลขทางการบัญชีมาประยุกต์ใช้ใน Balanced Scorecard เพื่อการวางแผนธุรกิจและแผนปฏิบัติการ - Financial Perspective - Customer Perspective - Internal Process Perspective - Learning and Growth Perspective5. แนวทางการจัดทำพยากรณ์ทางธุรกิจโดยการจัดทำงบการเงินล่วงหน้า - เป้าหมายและข้อสมมุติของงบประมาณ - การจัดทำงบประมาณการลงทุน - การจัดทำงบประมาณกำไรขาดทุน - การจัดทำงบประมาณฐานะการเงิน - การจัดทำงบประมาณเงินสด6. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4 (เดิน 300 เมตร)