การจัดทำต้นทุนมาตรฐาน Standard Cost และการวิเคราะห์ผลต่างของต้นทุน Cost Variance (หลักสูตรใหม่ปี 2567)

รหัสหลักสูตร : 21/02444P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 10,700 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 12,840 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

การจัดทำต้นทุนมาตรฐาน Standard Cost และการวิเคราะห์ผลต่างของต้นทุน Cost Variance

 


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline


CPD

ผู้ทำบัญชี บัญชี 12 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 12 ชม.

 

วิทยากรโดย อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล

หัวข้อสัมมนา

SECTION 1 การจัดทำต้นทุนมาตรฐาน Standard Cost
1. การจำแนกประเภทของต้นทุน
    - ต้นทุนขั้นต้น (Prime Costs)
    - ต้นทุนแปลงสภาพ (Convention Costs)

2. การวิเคราะห์พฤติกรรมของต้นทุน
    - ต้นทุนผันแปร (Variable Cost : VC)
    - ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC)
    - ต้นทุนผสม (Mixed Cost)

3. องค์ประกอบของต้นทุนผลิตภัณฑ์
    - วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials : DM)
    - ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor : DL)
    - ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead : MOH)

4. ระบบต้นทุนการผลิต (Processing Costing)
    - ลักษณะสำคัญของระบบต้นทุนช่วงการผลิต
    - การเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิตจากรายงานการผลิต (Production Report)
    - การสะสมต้นทุนช่วงการผลิต และการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละช่วงการผลิต
    - การหาหน่วยเทียบเท่าที่ผลิตเสร็จและงานระหว่างผลิต

5. การจัดสรรปันส่วนต้นทุนการผลิต (Cost Allocation)
    - วัตถุประสงค์ของการปันส่วนต้นทุน
    - การปันส่วนต้นทุนของค่าใช้จ่ายการผลิตตามแนวคิดเดิม

6. ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing : ABC)
    - แนวคิดของการปันส่วนต้นทุนตามฐานกิจกรรม
    - การปันส่วนต้นทุนตามระบบบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
    - ประโยชน์ของระบบต้นทุนฐานกิจกรรม
    - ปัญหาและข้อจำกัดของข้อมูลในการคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม
    - Workshop การปันส่วนต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตตามกิจกรรม

7. ต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost)
    7.1 การใช้ต้นทุนมาตรฐานเพื่อควบคุมต้นทุนการผลิต
    7.2 การกำหนดต้นทุนมาตรฐานของวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials : DM)
          - การจัดทำสูตรการผลิต
          - การคำนวณปริมาณการใช้วัตถุดิบ (Bill of Material : BOM)
          - การคำนวณหา Yield และอัตราส่วนสูญเสียของวัตถุดิบ
          - แนวทางการเลือกใช้มาตรฐานราคาของวัตถุดิบ
    7.3 การกำหนดต้นทุนมาตรฐานของค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor : DL)
          - กระบวนการและขั้นตอนในการผลิต
          - การคำนวณหาเวลาที่ใช้ในการผลิตแต่ละขั้นตอน
          - การกำหนดอัตราค่าแรงงานตามมาตรฐาน
    7.4 การกำหนดต้นทุนมาตรฐานของค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead : MOH)
          - การจำแนกพฤติกรรมต้นทุนของค่าใช้จ่ายการผลิต
          - การคำนวณหาอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
          - การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายผันแปร
          - การหาอัตรากำลังการผลิตที่เหมาะสม
          - การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ตามกำลังการผลิต

8. Workshop การจัดทำต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost)
    - การหาต้นทุนมาตรฐานของวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials : DM)
    - การหาต้นทุนมาตรฐานของค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor : DL)
    - การหาต้นทุนมาตรฐานของวัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials : IDM)
    - การหาต้นทุนมาตรฐานของค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect Labor : IDL)
    - การจัดสรรปันส่วน (Cost Allocation) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead : MOH)

9. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

SECTION 2 การวิเคราะห์ผลต่างของต้นทุน Cost Variance
1. ชนิดของต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ต้นทุน
    - ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง (Actual Cost)
    - ต้นทุนปกติ (Normal Cost)
    - ต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost)

2. วิธีการเก็บข้อมูลต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง
    2.1 ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials : DM)
          - ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงของวัตถุดิบทางตรง
          - ปริมาณการใช้วัตถุดิบ
          - ข้อมูลเกี่ยวกับราคาวัตถุดิ
    2.2 ต้นทุนแรงงานทางตรง (Direct Labor : DL)
          - ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงของค่าแรงงานทางตรง
          - จำนวนชั่วโมงแรงงานทางตรงที่ใช้ในการผลิต
    2.3 ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead : MOH)
          - ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงของค่าใช้จ่ายผลิตที่เกิดขึ้นจริง
          - จัดประเภทของค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร และ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
          - จำนวนของอัตรากำลังการผลิตที่เกิดขึ้นจริง
    2.4 ข้อมูลเพิ่มเติมจากรายงานการผลิต (Production Report)
          - จำนวนของเสีย (NG) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต
          - ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการแก้ไขงาน (Rework)

3. การวิเคราะห์ผลต่างของต้นทุน (Variance)
    3.1 การวิเคราะห์ผลต่าง ต้นทุนจริง ต้นทุนมาตรฐาน
    3.2 การวิเคราะห์ผลต่างของงบประมาณยืดหยุ่น
    3.3 การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบทางตรง (Variance DM)
          - ผลต่างด้านราคาวัตถุดิบ
          - ผลต่างด้านปริมาณการใช้วัตถุดิบ
    3.4 การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง (Variance DL)
          - ผลต่างด้านอัตราค่าแรง
          - ผลต่างด้านชั่วโมงการทำงานหรือประสิทธิภาพการผลิต
    3.5 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต (Variance MOH)
          - ผลต่างของค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
          - ผลต่างของค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
    3.6 การวิเคราะห์ผลต่างกรณีมีส่วนผสมของวัตถุดิบหลายประเภท (Mixed Variance)
    3.7 การวิเคราะห์ผลต่างกรณีมีแรงงานทางตรงที่มีต้นทุนแตกต่างกัน

4. Workshop การวิเคราะห์ผลต่าง (Variance)
    - การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบทางตรง (Variance DM)
    - การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง (Variance DL)
    - การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต (Variance MOH)

5. การวิเคราะห์ต้นทุนคุณภาพ (Cost of Quality: COQ)
    - ต้นทุนในการป้องกัน (Prevention Cost)
    - ต้นทุนในการตรวจสอบ (Appraisal Cost)
    - ต้นทุนความล้มเหลวจากภายใน (Internal Failure Cost)
    - ต้นทุนความล้มเหลวจากภายนอก (External Failure Cost)
    - การวิเคราะห์ความเหมาะสมของต้นทุนคุณภาพ

6. การวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง
    - ต้นทุนแฝง (Hidden Cost) ในกระบวนการผลิต
    - ต้นทุนของกำลังการผลิตที่ว่างเปล่า (Idle Cost)
    - ส่วนสูญเสียในกระบวนการผลิตปกติ (Normal Spoilage)
    - ส่วนสูญเสียในกระบวนการผลิตเกินปกติ (Abnormal Spoilage)
    - อัตราของเสีย (NG Rate) และ เศษซาก (Scarp)

7. บัญชีต้นทุนเพื่อการบริหารและตัดสินใจ
    - ระบบต้นทุนเต็ม (Full Cost)
    - ระบบต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
    - ความแตกต่างของกำไรขั้นต้น (Gross Profit: GP) กับ กำไรส่วนเกิน (Contriburion Margin: CM)

8. การวิเคราะห์กำไรเพื่อประเมินผลการดำเนินงาน
    - การวิเคราะห์กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin: CM)
    - การวิเคราะห์กำไรขั้นต้น (Gross Profit: GP)
    - การวิเคราะห์กำไรจากการดำเนินงาน (Operating Profit)
    - การวิเคราะห์กำไรสุทธิ (Net Profit: NP)
    - การวิเคราะห์กำไรจากการดำเนินงานก่อนคิดค่าเสื่อมราคา (EBITDA)

9. การจัดทำรายงานข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุน เพื่อนำเสนอผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง
    - การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เกี่ยวกับต้นทุนเพื่อวัดผลการดำเนินงา
    - การจัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง
    - ตัวอย่าง การจัดทำรายงานต้นทุนเพื่อนำเสนอผู้บริหาร

 



นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
รอ 0:0 รอ 0:0

วิทยากร

อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ ฟอร์จูน กรุงเทพฯ
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
โทรศัพท์ :
02-6411500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba