• จุดประกาย...ความคิด การทำงานในบทบาท “HR” ให้ทันยุคทันสมัยตรงใจผู้บริหาร
• ยกระดับ...ความสามารถในการบริหารทรัพยากรบุคคลจาก “HR มือใหม่” สู่การเป็น “HR มืออาชีพ”
• เตรียมตัวอย่างไร? ต้องรู้อะไร? เมื่อต้องปรับเปลี่ยนโยกย้ายจากตำแหน่งงานอื่นก้าวสู่การทำงานในบทบาทของHR
• สิ่งควรรู้เกี่ยวกับงานหลักของ HR ในการบริหารงานบุคคลการสรรหาว่าจ้าง การบริหารค่าตอบแทน การเป็นเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม กฎหมายแรงงานสำหรับการบริหารงานบุคคล
• สาเหตุที่การบริหารงาน HR “ล้มเหลว” ไม่ได้งาน ไม่ได้ใจเป็นเพราะอะไร? และจะแก้ไขได้อย่างไร?
วิทยากรโดย อาจารย์ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต และอาจารย์ฐิติมา ตังคเศรษฐกุล
หัวข้อสัมมนา
Module 1 : กลยุทธ์การบริหารค่าจ้าง-เงินเดือน 1. ใครเป็นคนกำหนดค่าจ้าง ? 2. ระบบค่าตอบแทนประกอบด้วยอะไรบ้าง? • ค่าตอบแทนทางตรง • ค่าตอบแทนทางอ้อม 3. หลักการการบริหารค่าจ้าง 4. นักบริหารค่าตอบแทนคือใคร มีคุณสมบัติอย่างไร และมีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง 5. กลยุทธ์ด้านค่าตอบแทนเป็นอย่างไร 6. กลยุทธ์การบริหารค่าจ้างเงินเดือนที่ไม่ถูกต้องและวิธีการแก้ไขควรทำอย่างไร 7. กลยุทธ์การกำหนดอัตราเงินเดือนเริ่มต้นตามวุฒิกรณี ผู้สมัครจบใหม่และกรณีผู้สมัครมีประสบการณ์ทำงาน 8. โครงสร้างเงินเดือนกับโครงสร้างค่าจ้างต่างกันอย่างไร 9. การประเมินค่างาน (Job Evaluation – JE) คืออะไร องค์กรจะประเมินค่างานได้อย่างไร 10. การประเมินค่างานและการจัดทำโครงสร้างเงินเดือนสัมพันธ์กันอย่างไร 11. โครงสร้างเงินเดือน กระบวนการและกิจกรรมในการทำโครงสร้างเงินเดือนมีอะไรบ้าง • ความสำคัญและหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างเงินเดือน • วิธีการประเมินค่างานและการจัดทำโครงสร้างเงินเดือนสัมพันธ์กันอย่างไร และมีวิธีการอย่างไร • การวิเคราะห์ส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างเงินเดือนและความสัมพันธ์ระหว่างกระบอกเงินเดือน • Broadband คืออะไร เหมาะกับองค์กรแบบไหน? • สูตรและศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารค่าตอบแทนและโครงสร้างเงินเดือน 12. เมื่อทำโครงสร้างเงินเดือนเสร็จจะมีผลกระทบอะไรบ้าง 13. แนวคิดและสูตรที่ใช้ในการปรับเงินเดือนเชิงกลยุทธ์ เพื่อประสิทธิภาพและลดปัญหาระหว่างคนเก่า-คนใหม่ 14. ประเด็นและกรณีศึกษาน่ารู้เกี่ยวกับ “เงินเดือน” และ “ค่าจ้าง” ที่ผู้บริหารงานทรัพยากรมนุษย์ไม่ควรพลาด
Module 2 : กฎหมายแรงงานสำหรับการบริหารงานบุคคล 1. ด่วน!! พรบ.คุ้มครองแรงงานฉบับที่ 8 บังคับใช้ 18 เมษายน 2566 2. สาระสำคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่ายบุคคลต้องรู้ 3. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารตามกฎหมายแรงงาน - การมอบหมายงานในหน้าที่ - คำสั่งโยกย้ายตำแหน่งหน้าที่ 4. การกำหนดวัน เวลาทำงาน 5. เทคนิคการใช้ระเบียบข้อบังคับในการทำงาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจะต้องปฏิบัติอย่างไร? - กรณีนายจ้างแก้ไขสภาพการจ้างฝ่ายเดียวทำได้หรือไม่ 6. ค่าจ้าง (Wage) จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์อะไรบ้าง 7. การดำเนินการลงโทษทางวินัย จะต้องพิจารณาและมีขั้นตอนอย่างไร? - กรณีลูกจ้างกระทำผิดร้ายแรงและกระทำผิดไม่ร้ายแรง แตกต่างกันอย่างไร? - ขั้นตอนในการลงโทษทางวินัยที่ถูกต้องตามกฎหมาย 8. กรณีลูกจ้างเกษียณอายุ
Module 3 : เทคนิคการวางแผนสรรหา และวิธีการสัมภาษณ์ 1. กระบวนการที่สำคัญในการสรรหาและคัดเลือกพนักงาน 2. ภาพรวมการสรรหายุคใหม่ ทำอย่างไรจึงจะได้ผู้สมัครที่องค์กรต้องการ 3. ช่องทางยอดนิยมในการสรรหาพนักงานในยุคปัจจุบัน 4. การกำหนดคุณสมบัติของพนักงานเพื่อให้เหมาะสมกับการทำงานในยุคปัจจุบันและเพิ่มโอกาสรับพนักงานที่มีประสบการณ์และความสามารถเข้าทำงาน 5. การวางแผนสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกพนักงานอย่างมีประสิทธิภาพ 6. วิธีการสร้างบรรยากาศในการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง 7. วิธีตั้งคำถามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการครบถ้วน 8. ตัวอย่างคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้สมัคร 9. วิธีการวิเคราะห์และสรุปผลการสัมภาษณ์ 10. แบบฟอร์มที่เป็นประโยชน์ในการสัมภาษณ์คัดเลือก 11. ปัญหาที่มักพบซึ่งทำให้การสัมภาษณ์ไม่มีประสิทธิภาพ 12. ถาม-ตอบ วิธีการสัมภาษณ์ที่ดีเพื่อให้ได้บุคคลตามที่องค์กรต้องการ
Module 4 : ครบเครื่องเรื่องการพัฒนาบุคลากร (Workshop) 1. การแข่งขันของธุรกิจด้วยศักยภาพของบุคลากร 2. แหล่งข้อมูลในการนำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากร 3. สิ่งที่ควรรู้เบื้องต้นในการพัฒนาบุคลากร 4. ความหลากหลายของวิธีการพัฒนาบุคลากรและวิธีการดำเนินการของแต่ละวิธี 5. การพัฒนาองค์กร (Organization Development) 6. การพัฒนาส่วนบุคคล (Individual Development) 7. การพัฒนาสายอาชีพ (Career Development) ความก้าวหน้าในตำแหน่งภายในองค์กร
|