โครงการอบรมภาษีของบริษัทข้ามชาติ (International Business Taxation) (หลักสูตรใหม่ 2567)

รหัสหลักสูตร : 21/08212P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 37,450 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 37,450 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



โครงการอบรม....ภาษีของบริษัทข้ามชาติ

(International Business Taxation)

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี รออนุมัติ
ผู้สอบบัญชี รออนุมัติ

 

  • สิ่งที่ผู้บริหาร นักกฎหมาย และนักบัญชีต้องทราบกับการเปลี่ยนแปลงภาษีระหว่างประเทศ
  • การจัดเก็บภาษีตามโครงการ Base Erosion and Profit Shifting (BEPS) 2.0 ที่ต้องเตรียมตัว
  • ประเด็นการนำส่งภาษี ภ.ง.ด. 54 และ ภ.พ. 36 ที่ต้องระวัง
  • วิธีการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนเพื่อลดการเสียภาษีซ้ำซ้อน
  • กฎหมาย Transfer Pricing และการตรวจสอบภาษี
  • การวางแผนภาษีเมื่อไปลงทุนต่างประเทศ
วิทยากรโดย 1. อาจารย์ชุมพร เสนไสย
2. อาจารย์สรญา บุญส่งประเสริฐ
3. วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

Module 1. Update การเปลี่ยนแปลงทางภาษีอากรระหว่างประเทศ

1. การจัดเก็บภาษีตาม Base Erosion and Profit Shifting (BEPS) 2.0

2. Update ความตกลงเพื่อการร่วมมือด้านภาษีอากรที่ประเทศไทยร่วมกับระหว่างประเทศ

- FATCA

- MCAA

- MCAA CBcR

- MCAA CRS

- Pilar 1, Pillar 2

3. สิ่งที่นักบัญชีต้องเตรียมตัวเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้

4. ผลกระทบทางภาษีอากรที่นักบัญชีต้องทราบ

 

Module 2. ปัญหาด้านภาษีเมื่อต้องจ่ายเงินไปต่างประเทศ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด. 54 และภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ. 36

1.  ความสำคัญของธุรกรรมกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย

2.  ประเภทเงินได้ที่จะถูกหักภาษีและนำส่งด้วยแบบ ภ.ง.ด. 54

- ความแตกต่างระหว่าง ภ.ง.ด. 53 กับ ภ.ง.ด. 54

3. ปัญหาการนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด. 54

- การจ่ายค่านายหน้า การรับทำงานให้

- ค่าที่ปรึกษาให้ต่างประเทศ

- การจ่ายค่าซ่อม

- จ่ายค่าใช้ Software การใช้ค่าสิทธิ

- เงินปันผลหรือกำไรจากธุรกิจ

- ดอกเบี้ย

- การขายสินค้าพร้อมติดตั้ง

- สินค้าพร้อม Software

- การพิจารณาความเป็นอิสระและไม่อิสระของบุคคลธรรมดากับการหักภาษี

- การให้บริการ e-service ต้องหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร

4. การนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ. 36

- การให้บริการหรือการขายสินค้าที่จะต้องนำส่ง ภ.พ. 36

- หลักการพิจารณา ใช้นอก ใช้ใน

- การนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อใช้บริการ e-Service

5. การออกภาษีแทนบริษัทต่างประเทศต้องนำส่งภาษีอย่างไร

6. การเครดิตภาษี

7. ปัญหาการนำส่ง ภ.ง.ด. 54 ภ.พ. 36 ไม่ถูกต้องจะมีผลอย่างไรหรือไม่

 

Module 3. อนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement : DTA) กับปัญหาการเสียภาษี

1. Update รายชื่อประเทศที่ทำความตกลงว่าด้วยอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทย

2. วิธีการจัดเก็บภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน

3. ผู้ที่จะได้สิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อน

4. การใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนเพื่อการขจัดภาษีซ้ำซ้อน

5.การอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อนแบบบรรทัดต่อบรรทัดเพื่อความเข้าใจ

- ค่าสิทธิ

- ค่านายหน้า

- เงินปันผล

- ดอกเบี้ย

- รายได้ของบุคคลที่เป็นอิสระและไม่เป็นอิสระ

6. ปัญหาการตีความในอนุสัญญาภาษีซ้อนที่ทำให้เสียภาษีไม่ถูกต้อง

7. การขอเครดิตภาษีตาม DTA แตกต่างจากประมวลรัษฎากรหรือไม่

 

Module 4. กฎหมาย Transfer Pricing ที่บริษัทข้ามชาติต้องทราบ

1. หลักเกณฑ์การบังคับใช้กฎหมาย Transfer Pricing

2. กิจการที่อยู่ในบังคับตามกฎหมาย Transfer Pricing

- การพิจารณาหลักความสัมพันธ์กันตามกฎหมาย

- ลักษณะการถือหุ้นที่จะถือว่ามีความสัมพันธ์กัน

3. ราคาตลาด Arm's Length Price ตามกฎหมาย Transfer Pricing

    - การกำหนดราคาระหว่างบริษัทในเครือมีปัญหาทางภาษีอย่างไร

    - วิธีการกำหนดราคาที่สรรพากรยอมรับ

4. การพิจารณาเรื่องของรายได้ที่ต้องจัดทำเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน

5. เอกสารที่ต้องจัดทำเพื่อให้สรรพากรตรวจสอบ

- การจัดทำเอกสาร Local File

- การกรอกแบบ Disclosure Form

- เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง

6. บทกำหนดโทษกรณีไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย

7. ขั้นตอนการยื่นคำขอทำข้อตกลงเพื่อกำหนดราคาเป็นการล่วงหน้า (APA) และประโยชน์ที่จะได้รับ

8. การตรวจสอบภาษีเกี่ยวกับการกำหนดราคาโอนของสรรพากร

 

 Module 5  การวางแผนภาษีการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

1. ภาระภาษีจากกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวข้องและต้องระมัดระวังจากการทำธุรกรรมระหว่างประเทศและการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

2. การวางแผนภาษีโดยใช้อนุสัญญาภาษีให้เกิดประโยชน์สูงสุด

3. ข้อควรระวังในอนุสัญญาภาษีซ้อน

4. สถานประกอบการถาวร กำไรจากธุรกิจกับการวางแผนภาษี

5. การวางแผนภาษีจากการจ่ายค่าสิทธิ์ลิขสิทธิ์สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า

6. การทำสัญญาเพื่อการวางแผนภาษีจากการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

- หัวสัญญา กับ เนื้อหาสัญญา

 - การกำหนดสกุลเงิน การใช้อัตราแลกเปลี่ยน ในการจ่ายค่าตอบแทน

 - การผลักภาษีค่าใช้จ่ายเพื่อการวางแผนภาษี

7. การวางแผนภาษีโดยทำ Double lrish Dutch Sandwich

- เทคนิคและขั้นตอนการทำ

 - กรณีศึกษา

 - ข้อเสียของการใช้เทคนิคนี้

8. การวางระบบภายในและจัดทำเอกสารหลักฐาน ประกอบการวางแผนภาษี

9. การวางแผนภาษีและลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

10. การแลกเปลี่ยนข้อมูลบัญชีทางการเงินแบบอัตโนมัติ : MCAA CRS ผลต่อการวางแผนภาษีและสรรพากรตรวจสอบอะไรบ้าง

11. การตรวจสอบของสรรพากรกรณีมีการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

 - จุดที่ตรวจสอบ

 - ความเสี่ยงเมื่อถูกตรวจสอบ

 - เอกสาร

 - การให้ข้อมูลเพื่อให้เป็นไปตามที่ได้วางแผนภาษีไว้

12. Case study การวางแผนภาษีที่ประสบความสำเร็จ

13. Case study การตรวจสอบของเจ้าหน้าที่สรรพากร

 


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 30:0 0:0 30:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย
อาจารย์สรญา บุญส่งประเสริฐ
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร

สถานที่

โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ
4 ถ.สุขุมวิท ซ.2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ :
02-656 7700
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4 (เดิน 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba