• ผลกระทบของพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ และกฎหมายการค้ำประกัน
• การดำเนินการทางกฎหมายกับ ลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ เป็นการติดตามหนี้ก่อนฟ้องร้องคดี
• เทคนิคการพิจารณาคุณสมบัติของลูกหนี้เพื่อให้ เครดิตการค้า
• สําหรับนักบัญชีเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญ และ วิธีจำหน่ายหนี้สูญ เพื่อช่วยในการลงบัญชี
• การแปลงหนี้ใหม่ และการประนีประนอมหนี้
1. เทคนิคการพิจารณาคุณสมบัติของลูกหนี้เพื่อให้เครดิตทางการค้า
• บุคคลธรรมดา
• ห้างหุ้นส่วนสามัญ
• ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
• ห้างหุ้นส่วนจำกัด
• บริษัทจำกัด
2. การทำสัญญาผูกพันลูกหนี้อย่างรัดกุมและชอบด้วยกฎหมาย (ผู้ไม่รู้กฎหมายก็เข้าใจง่าย)
• ข้อพิจารณาในการกำหนดตัวลูกหนี้ก่อนทำสัญญา
• รายการสำคัญที่ควรมีในสัญญา
• ข้อควรระวังในการทำสัญญา
• การเพิ่มหลักประกันในสัญญา
• การลงนามในสัญญา
• เทคนิคการมอบอำนาจ
• อากรแสตมป์กับสัญญา
• ข้อควรระวังในการปฏิบัติตามกฎหมายเรื่องหนี้ “มูลหนี้” สำหรับเจ้าหนี้และลูกหนี้
• เทคนิคการเพิ่มลูกหนี้ทางการค้า
3. การดำเนินการทางกฎหมายกับลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้
• การดำเนินการเมื่อถึงกำหนดการชำระ “หนี้”
• ความสำคัญของ “การผิดนัด” และ “การผิดเวลาชำระหนี้” ที่มีผลกระทบทางกฎหมาย
• เทคนิคการออกหนังสือ “ทวงหนี้”
• การรวบรวมเอกสารหลักฐานและการตรวจสอบความถูกต้องเพื่อเรียกร้องให้ “ชำระหนี้”
4. เทคนิคการทวงหนี้ประเภทต่างๆ เพื่อให้องค์กรได้ประโยชน์สูงสุดในการ “ติดตามหนี้”
• เทคนิคการเพิ่มทรัพย์สินให้แก่ลูกหนี้
• เทคนิคการรับโอนหนี้
• เทคนิคการหักหนี้
• เทคนิคการรับสภาพหนี้
• เทคนิคการจำหน่ายหนี้สูญ
• เทคนิคการแปลงหนี้ใหม่
• เทคนิคการประนีประนอมหนี้
5. การดำเนินการทางกฎหมายกรณีลูกหนี้ตามสัญญาประเภทต่างๆ หนี้การค้าตามสัญญาซื้อขาย บริการเช่า ซื้อ กู้ยืมเงิน และบัตรเครดิต ฯลฯ
• กรณีชำระหนี้ค่าสินค้าและบริการด้วย “เช็ค” “เช็คค้ำประกัน” แล้วเช็คเด้ง
• เทคนิคการจัดการกับ “ลูกหนี้ประเภทชอบมีปัญหา” หรือ “เจ้าหนี้เจ้าปัญหา”
6. ข้อควรระวังเกี่ยวกับอายุความในการฟ้องคดีเกี่ยวกับหนี้ตามสัญญาประเภทต่างๆ การฟ้องร้องลูกหนี้ให้ชำระ หนี้ด้วยตนเอง วิธีการฟ้องร้องและการดำเนินคดีในศาล (การดำเนินคดีมโนสาเร่ตามหลักเกณฑ์แก้ไข)การดำเนินคดีอาญากับลูกหนี้ที่มีปัญหาทางใดบ้าง (ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล) เทคนิคการบังคับคดี
7. คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี