- อย่างไรถือเป็นการนําเข้า และ ส่งออกตามประมวลรัษฎากร
- การนําเข้าสินค้า กับการนําเข้าบริการแตกต่างกันอย่างไร
- การส่งออกสินค้า กับ การส่งออกบริการแตกต่างกันอย่างไร
- ภาระภาษีของกิจการนําเข้า และ ส่งออกมีอะไรบ้าง
- การขายสินค้าที่อยู่ในต่างประเทศและส่งมอบให้กับลูกค้าในต่างประเทศต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
- ความแตกต่างในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7 กับร้อยละ 0 และการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
- จุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มของกิจการนําเข้าและส่งออก
- เงื่อนไขในการส่งออกมีผลต่อการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือไม่
- การรับรู้รายได้จากการส่งออกจะต้องปฏิบัติอย่างไรและจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนอย่างไรในการแปลงค่าเป็นเงินบาท
- การส่งออกที่คาบเกี่ยวรอบระยะเวลาบัญชีจะต้องรับรู้รายได้ในรอบระยะบัญชีใด
- การนําเข้าสินค้าหรือวัตถุดิบจะรับรู้อย่างไรจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนอะไรในการแปลงค่าเป็นเงินบาท
- การนําเข้าเครื่องจักรจะต้องรับรู้สินทรัพย์อย่างไรและจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนอะไรในการแปลงค่าเป็นเงินบาท
- การใช้เงื่อนไขของ Incoterms มีผลกระทบต่อการเสียภาษีในการส่งออกอย่างไร
- เอกสารหลักฐานประกอบการนําเข้า และ ส่งออกที่ต้องมีเพื่อแสดงเมื่อถูกตรวจสอบ
- หลักการพิจารณาเอกสารรายจ่ายของกิจการนําเข้าและส่งออกที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ
- การขายสินค้าโดยการส่งออกต้องออกใบกํากับภาษีหรือไม่
- ได้รับคําสั่งซื้อ (Purchase Order) จากลูกค้าในต่างประเทศจะถือว่าการขายได้เกิดขึ้นแล้วหรือยัง ต้องรับรู้รายได้หรือไม่
- กิจการออกใบตราส่ง (Performa Invoice) เพื่อขออนุมัติกรมศุลกากรจะต้องบันทึกรับรู้รายได้หรือไม่
- กิจการเบิกสินค้าออกจากคลังสินค้า (Out) เพื่อส่งสินค้าไปยังท่าเรือจะต้องรับรู้เป็นรายได้หรือไม่
- กิจการได้รับใบขนสินค้าจากกรมศุลกากรมีภาระภาษีหรือไม่อย่างไร
- เงื่อนไขในการส่งสินค้า C.I.F. มีผลกระทบต่อการส่งออกอย่างไร
- เงื่อนไขในการส่งสินค้า F.O.B. มีผลกระทบต่อการส่งออกอย่างไร
- หลักเกณฑ์การใช้อัตราแลกเปลี่ยนจากเงื่อนไขของ F.O.B และ C.I.F. ต้องใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
- กิจการจะใช้ Status 02, 03 หรือ 04 เป็นหลักฐานแสดงการรับรู้รายได้
- หลักเกณฑ์ของ Invoice, Bill of Lading, Air Way Bill หรือใบขนจะต้องตรวจสอบอย่างไรบ้าง
- การส่งออกสินค้าจะต้องออกใบกํากับภาษีหรือไม่และจะใช้เงินตราต่างประเทศหรือเงินบาท
- การส่งออกสินค้าที่จะได้รับสิทธิอัตราร้อยละ 0 มีหลักเกณฑ์อย่างไร
-
เอกสารประกอบการส่งออกสินค้ามีเอกสารอะไรบ้างต้องมีครบถ้วนหรือไม่
-
การส่งออกสินค้าตามชายแดนจะต้องมีเอกสารประกอบอะไรบ้าง มีไม่ครบได้หรือไม่
-
กิจการจ้างโรงงานผลิตและให้โรงงานผู้ผลิตดําเนินพิธีการศุลกากรจะได้รับสิทธิเสีย VAT 0% หรือไม่และต้องมีเอกสารอะไรบ้าง
-
ได้รับคําสั่งซื้อจากต่างประเทศ แต่ส่งมอบสินค้าในประเทศจะได้รับสิทธิเสีย VAT 0% หรือไม่
-
ส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศตามคําสั่งซื้อของผู้ซื้อในต่างประเทศใครมีหน้าที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และเสียในอัตราเท่าใด
-
กิจการขายสินค้าที่ต่างประเทศ แต่ลูกค้าให้ส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนในประเทศจะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราใด
-
นําสินค้าเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออกจะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราใด และต้องมีเอกสารประกอบอะไรบ้าง
-
กิจการอยู่ในคลังสินค้าทัณฑ์บน หรือประกอบกิจการอยู่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออกในการขายสินค้าระหว่างกันจะออกใบกํากับภาษีอย่างไรและเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราใด
-
การส่งออกสินค้าที่มีการโอนส่วนจัดสรรหรือแลกเปลี่ยนส่วนจัดสรรจะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% หรือ 0%
-
เจ้าของสินค้าใช้ชื่อส่วนจัดสรรของบุคคลอื่น ซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนจะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราใด
-
ส่งออกสินค้าในนามบริษัทการค้าระหว่างประเทศ(Trading Company) ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนเป็นอย่างไร
-
การส่งออกน้ําตาลทรายของโรงงานน้ําตาลทรายโดยผ่านตัวแทนในการส่งออก
-
ซื้อน้ํามันและผลิตภัณฑ์น้ํามันจากผู้ผลิตหรือผู้นําเข้า และได้ขายให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรือเรือเดินทะเล
-
ขายสินค้าให้แก่ผู้ซื้อในต่างประเทศโดยว่าจ้างผู้ประกอบการรับขนส่งพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ ทําอย่างไรจึงจะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 0
-
ขายสินค้าให้แก่ผู้ซื้อในต่างประเทศโดยว่าจ้างบริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยเรือเดินทะเล (Freight Forwarder) ให้จัดส่งสินค้า
-
เอกสารประกอบการส่งสินค้าไปต่างประเทศโดยทางไปรษณีย์จะได้รับสิทธิเสียVAT 0% หรือไม่
-
ผู้ซื้อนําสินค้าติดตัวออกไปนอกราชอาณาจักรเองโดยมิได้กระทําพิธีการศุลกากร
-
ส่งสินค้าออกไปต่างประเทศตามคําสั่งของสํานักงานใหญ่ สาขา บริษัทหรือบริษัทในเครือ ตัวการ ตัวแทน นายจ้าง หรือลูกจ้าง จะต้องถือเป็นรายได้หรือไม่
-
การส่งสินค้าออกไปต่างประเทศหากถือเป็นรายได้จะใช้ราคาใดในการคํานวณภาษี
-
ข้อยกเว้นอะไรบ้างเมื่อกิจการส่งสินค้าออกไปต่างประเทศแล้วไม่ถือเป็นการขายหรือรายได้
-
อัตราแลกเปลี่ยนทางบัญชีกับทางภาษีเหมือนหรือแตกต่างกัน
-
หากกิจการจะต้องแปลงค่าเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทยจะต้องใช้อัตราแลกเปลี่ยนอย่างไร
-
ความแตกต่างของอัตราแลกเปลี่ยนตามมาตรา 9,มาตรา 65 ทวิ (5), และมาตรา 79/4
-
หลักเกณฑ์การใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามมาตรา 9
-
หลักเกณฑ์การใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามมาตรา 65 ทวิ (5)
-
หลักเกณฑ์การใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามมาตรา 79/4
-
หากกิจการใช้อัตราแลกเปลี่ยนผิดจะมีผลกระทบทางภาษีอากรหรือไม่อย่างไร
-
การใช้อัตราแลกเปลี่ยน “อัตราซื้อ” กับ “อัตราขาย”มีหลักเกณฑ์อย่างไร
-
เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินซึ่งมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศที่เหลืออยู่ในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี จะต้องใช้อัตราแลกเปลี่ยนอะไรในการแปลงค่า
-
มีเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สิน เป็นเงินตราต่างประเทศในระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนอะไรในการแปลงค่า
-
บริษัทตกลงราคาสินค้าเป็นหน่วยเงินตราต่างประเทศ ได้ดําเนินการส่งออกสินค้าจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
-
บริษัทเป็นนายหน้าตัวแทนให้บริการบริษัทต่างประเทศจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนใดในการบันทึกบัญชี
-
บริษัทประกอบกิจการให้บริการได้กู้ยืมเงินจากธนาคารในต่างประเทศ บริษัทจะบันทึกบัญชีเจ้าหนี้เงินกู้ยืม โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
-
การหักภาษีเงินได้ณ ที่จ่าย จะต้องแปลงค่าเงินตราต่างประเทศเมื่อใดและใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
-
การหักภาษีตามมาตรา 70 และมาตรา 70 ทวิ และการนําส่งภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
-
การออกใบกํากับภาษีจะต้องใช้ อัตราแลกเปลี่ยนอย่างไร
-
การลงรายงานภาษีขายอันเกิดจากการแปลงค่าอัตราแลกเปลี่ยนต้องปฏิบัติอย่างไร
-
การนําเข้าสินค้าจากต่างประเทศใช้ราคาใดและอัตราแลกเปลี่ยนใดในการแปลงค่า
-
เมื่อกิจการได้มีการจ่ายเงินจ้างชิปปิ้งให้มีการออกของจะถือเป็นเงินได้ประเภทใดจะต้องหักภาษีณ ที่จ่ายหรือไม่
-
จ่ายเงินทดรองจ่ายหรือเงินล่วงหน้าให้แก่ชิปปิ้งต้องหักภาษีณ ที่จ่ายหรือไม่
-
ค่าบริการชิปปิ้งจะต้องหักภาษีณ ที่จ่ายอัตราใด
- ชิปปิ้งเรียกเก็บเงินทดรองจ่ายคืนจะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและการหักภาษี ณ ที่จ่าย อย่างไร
- ปัญหาในการจัดทํารายงานภาษีมูลค่าเพิ่มของกิจการนําเข้าและส่งออก