แนวปฏิบัติทางบัญชีระหว่าง PAEs และ NPAEs (TAS 1 TAS 12 TAS 19 และ TFRS 15) เปรียบเทียบความแตกต่างประเด็นที่สำคัญ

รหัสหลักสูตร : 23/04172P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 1,284 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 1,498 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 

แนวปฏิบัติทางบัญชีระหว่าง PAEs และ NPAEs 

(TAS 1 TAS 12 TAS 19 และ TFRS 15)

เปรียบเทียบความแตกต่างประเด็นที่สำคัญ 

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD

ผู้ทำบัญชี

บัญชี 6 ชั่วโมง

ผู้สอบบัญชี

บัญชี 6 ชั่วโมง

 

โดย   อาจารย์เกชา สมใจเพ็ง

 

หัวข้อสัมมนา


1. 
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 เรื่อง การนำเสนองบการเงิน

    - รายงานทางการเงินสำหรับกิจการ PAE และ NPAEs การพิจารณาเลือกใช้มาตรฐานในการจัดทำ
      และผลกระทบต่อข้อมูลที่นำเสนอ

    - กรอบแนวคิดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน PAEs และ NPAEs

    - รายงานทางการเงินฉบับสมบูรณ์ตามข้อกำหนดของมาตรฐาน PAEs และ NPAEs พร้อมข้อควรระวัง
      ในการนำเสนอรายการแต่ละประเภทและปัญหาที่สำคัญ

     - รายงานทางการเงินกับรายการประมาณการที่น่าเชื่อถือมีวิธีการปฏิบัติอย่างไร

     - การจัดทำงบการเงินให้สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรูปแบบรายการย่อล่าสุด
       จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

2. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 เรื่อง ภาษีเงินได้

    - หลักการและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ตามมาตรฐาน TAS 12 ความแตกต่างของ
      การนำเสนองบการเงินใน PAE และ NPAEs

    - กิจการ NPAEs เลือกใช้มาตรฐาน TAS 12 เพื่อนำมาคำนวณภาษีเงินได้รอตัดบัญชี  จะมีผลต่อ
      การนำเสนองบการเงินและการพิจารณาผลแตกต่างที่เกิดขึ้นในรายการสำคัญอย่างไร

  • ลูกหนี้การค้า
  • สินค้าคงเหลือ
  • ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
  • ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
  • สัญญาเช่า

     - การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ถูกต้อง

     - ประโยชน์ของการนำเสนอข้อมูลตาม TAS 12 ต่อกิจการ NPAEs

3. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์พนักงาน

     - หลักการและวิธีการทางบัญชี การประมาณการที่น่าชื่อถือตามมาตรฐานการบัญชี
        สำหรับกิจการ NPAEs

     - หากกิจการเลือกใช้ข้อกำหนดทางเลือกตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์พนักงาน
       แนวทางในการนำเสนอข้อมูลแต่ละประเภทมีวิธีการอย่างไร

  • ผลประโยชน์ระยะสั้นสำหรับพนักงาน (Short-term employee benefits)
  • ผลประโยชน์หลังออกจากงาน (Post-employment benefits)
  • ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน (Other long-term employee benefits)
  • ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง (Termination benefits)

     - ประโยชน์ที่กิจการ NPAEs ได้รับตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19

4. มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 เรื่องรายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า

     - หลักเกณฑ์และข้อกำหนดสำหรับการรับรู้รายได้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของกิจการ
       PAE และ NPAEs ที่ถูกต้อง

     - ประเด็นการรับรู้รายได้ตาม 5 ขั้นตอนการพิจารณา กรณีศึกษาตัวอย่างสำหรับการรับรู้รายได้
       ในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จจากกิจการขายสินค้า หรือการให้บริการที่น่าสนใจ
       และควรระมัดระวังในการนำเสนอข้อมูล

     - สินทรัพย์ / หนี้สิน ที่เกิดขึ้นภายใต้สัญญาที่ทำกับลูกค้า กับปัญหาของรายได้ค้างรับ
       และ รายได้รับล่วงหน้าต้องปฏิบัติอย่างไรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

     - ปัญหาของรายได้ค้างรับ และ รายได้รับล่วงหน้า ต้องปฏิบัติอย่างไรตามมาตรฐานการรายงาน
       ทางการเงิน

     - ปัญหาของค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ต้องปฏิบัติอย่างไรตามมาตรฐานการ
        รายงานทางการเงิน

     - ความสำคัญ และปัญหาของค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร และต้นทุนทางการเงิน
       ที่กิจการต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในการนำเสนองบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

5. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์เกชา สมใจเพ็ง

สถานที่

โรงแรมเดอะควอเตอร์ หัวลำโพง
23, 34-35 ถนน ตรีมิตร แขวง ตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กทม.10100
โทรศัพท์ :
023441699
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีหัวลำโพง ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba